WEBVTT 00:00:06.777 --> 00:00:11.415 ลองนึกถึงการใช้คำ ในการอธิบายทุกฉากในภาพยนต์ 00:00:11.415 --> 00:00:13.318 ทุกตัวโน้ตในเพลงโปรดของคุณ 00:00:13.318 --> 00:00:16.035 หรือถนนทุกสายในเมือง 00:00:16.035 --> 00:00:20.859 ทีนี้ ลองนึกถึงการอธิบาย โดยใช้เพียงเลข 1 กับ 0 00:00:20.859 --> 00:00:23.754 ทุกครั้งที่คุณใช้อินเทอร์เน็ต ในการชมภาพยนต์ 00:00:23.754 --> 00:00:24.863 ฟังเพลง 00:00:24.863 --> 00:00:26.349 หรือดูเส้นทาง 00:00:26.349 --> 00:00:28.859 นั่นคือสิ่งที่อุปกรณ์ของคุณทำ 00:00:28.859 --> 00:00:31.812 มันใช้ภาษารหัสเลขฐานสอง NOTE Paragraph 00:00:31.812 --> 00:00:36.502 คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสอง เพราะมันเป็นการจัดเก็บข้อมูลที่เชื่อถือได้ 00:00:36.502 --> 00:00:40.577 เช่น หน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยทรานส์ซิสเตอร์ 00:00:40.577 --> 00:00:44.154 ที่เปลี่ยนไปมา ระหว่างระดับความต่างศักย์สูงและต่ำ 00:00:44.154 --> 00:00:47.644 เช่น 5 โวลต์และ 0 โวลต์ 00:00:47.644 --> 00:00:51.750 ความต่างศักย์บางครั้งก็แกว่งไปมา แต่เนื่องจากมันมีแค่สองแบบ 00:00:51.750 --> 00:00:55.751 ค่า 1 โวลต์ ก็ยังคงถูกอ่านว่ามีค่าต่ำ 00:00:55.751 --> 00:00:58.280 การอ่านค่าดังกล่าวถูกกระทำ โดยโปรเซสเซอร์ของคอมพิวเตอร์ 00:00:58.280 --> 00:01:02.595 ซึ่งใช้สถานะของทรานส์ซิสเตอร์ ในการควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ 00:01:02.595 --> 00:01:04.791 ตามคำสั่งของซอร์ฟแวร์ NOTE Paragraph 00:01:04.791 --> 00:01:08.132 ความชาญฉลาดของระบบนี้ ก็คือลำดับเลขฐานสองที่ถูกให้มา 00:01:08.132 --> 00:01:11.520 ไม่ได้มีถูกกำหนดให้ความหมายมาแต่ต้น 00:01:11.520 --> 00:01:15.205 แต่ว่า ข้อมูลแต่ละชนิด ถูกเข้ารหัสเป็นเลขฐานสอง 00:01:15.205 --> 00:01:18.115 ตามชุดของกฎที่แตกต่างกัน NOTE Paragraph 00:01:18.115 --> 00:01:19.497 ลองเอาตัวเลขมาจำนวนหนึ่ง 00:01:19.497 --> 00:01:21.179 ในระบบเลขฐานสิบตามธรรมดา 00:01:21.179 --> 00:01:26.032 แต่ละตัวเลขถูกคุณด้วย 10 ยกกำลังด้วยค่าของตำแหน่งของมัน 00:01:26.032 --> 00:01:28.483 เริ่มจากศูนย์ในทางขวา 00:01:28.483 --> 00:01:35.040 ฉะนั้น 84 ในรูปแบบเลขฐานสิบ คือ 4x10⁰ + 8x10¹ 00:01:35.040 --> 00:01:37.755 การแสดงจำนวนเลขฐานสอง ก็เป็นไปในแบบที่คล้ายกัน 00:01:37.755 --> 00:01:41.561 แต่ว่าแต่ละตำแหน่งถูกคูณด้วยสอง ที่ยกกำลังค่าของตำแหน่งของมัน NOTE Paragraph 00:01:41.561 --> 00:01:45.573 ฉะนั้น 84 จะถูกเขียนเป็นแบบนี้ NOTE Paragraph 00:01:45.573 --> 00:01:50.376 ในขณะเดียวกัน ตัวหนังสือถูกแปร ไปตามกฎมาตรฐานอย่างเช่น UTF-8 00:01:50.376 --> 00:01:55.483 ซึ่งกำหนดให้แต่ละตัวอักษร เป็นชุดจำเพาะของเลขฐานสอง 8 ตัว 00:01:55.483 --> 00:02:02.389 ในกรณีนี้ 01010100 หมายถึงตัว T NOTE Paragraph 00:02:02.389 --> 00:02:06.147 แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าลำดับเลขนี้ 00:02:06.147 --> 00:02:08.832 จะเป็นตัว T หรือ 84 00:02:08.832 --> 00:02:11.870 คุณไม่อาจทราบได้จากการดูแค่ลำดับเลข 00:02:11.870 --> 00:02:16.442 เหมือนกับที่คุณไม่สามารถบอกได้ว่า เสียง "ดา" เดี่ยว ๆ หมายถึงอะไร 00:02:16.442 --> 00:02:21.279 คุณต้องการบริบทที่จะบอกว่า คุณกำลังได้ยินภาษารัสเซีย สเปน หรืออังกฤษ 00:02:21.279 --> 00:02:22.670 และคุณต้องการ บริบทในลักษณะที่คล้ายกัน 00:02:22.670 --> 00:02:26.785 เพื่อบอกว่าคุณกำลังดูจำนวนเลขฐานสอง หรือข้อความเลขฐานสอง NOTE Paragraph 00:02:26.785 --> 00:02:31.146 รหัสฐานสองยังถูกใช้กับข้อมูล ที่มีความซับซ้อนมากกว่านั้นอีก 00:02:31.146 --> 00:02:33.492 ยกตัวอย่างเช่น แต่ละฉากของวีดีโอนี้ 00:02:33.492 --> 00:02:35.960 ถูกสร้างขึ้นจากพิกเซลนับแสน 00:02:35.960 --> 00:02:37.641 ในรูปสี 00:02:37.641 --> 00:02:41.095 ทุก ๆ พิกเซล ถูกแสดงด้วยลำดับฐานสองสามตัว 00:02:41.095 --> 00:02:43.701 ที่สอดคล้องกับสีหลัก 00:02:43.701 --> 00:02:45.487 แต่ละลำดับเข้ารหัสจำนวน 00:02:45.487 --> 00:02:48.671 ที่กำหนดความเข้มของแต่ละสี 00:02:48.671 --> 00:02:52.600 เมื่อโปรแกรมขับวีดีโอถ่ายทอดข้อมูลนี้ 00:02:52.600 --> 00:02:55.310 ไปยังคริสตัลเหลวนับล้านในจอของคุณ 00:02:55.310 --> 00:02:58.088 เพื่อทำให้คุณเห็นเป็นสี ที่มีความสว่างและมืดต่างกัน NOTE Paragraph 00:02:58.088 --> 00:03:01.402 เสียงของวีดีโอนี้ ก็ถูกบันทึกเป็นระบบฐานสอง 00:03:01.402 --> 00:03:04.806 ด้วยการใช้เทคนิคที่เรียกว่า พัลส์ โค้ด มอดูเลชั่น 00:03:04.806 --> 00:03:07.190 คลื่นเสียงที่ต่อเนื่องกันถูกทำให้เป็นดิจิตัล 00:03:07.190 --> 00:03:11.582 โดยการ "ถ่ายภาพนิ่ง" ของแอมพลิจูด ของทุก ๆ สองสามมิลลิวินาที 00:03:11.582 --> 00:03:15.247 ข้อมูลเหล่านี้ถูกบันทึกเป็นตัวเลข ในรูปแบบของชุดระบบฐานสอง 00:03:15.247 --> 00:03:19.160 จำนวนมากถึง 44,000 ชุด สำหรับเสียงแต่ละวินาที 00:03:19.160 --> 00:03:21.770 เมื่อพวกมันถูกอ่านโดยซอร์ฟแวร์เสียง ของคอมพิวเตอร์ของคุณ 00:03:21.770 --> 00:03:26.124 ตัวเลขเหล่านี้กำหนดความเร็ว ในการสั่นของขดลวดในลำโพง 00:03:26.124 --> 00:03:28.965 เพื่อสร้างเสียงในความถี่ต่าง ๆ กัน NOTE Paragraph 00:03:28.965 --> 00:03:32.660 ทั้งหมดนี้ต้องการบิทมากมายหลายพันล้าน 00:03:32.660 --> 00:03:36.663 แต่จำนวนดังกล่าวสามารถถูกทำให้ลดลงได้ ด้วยรูปแบบการบีบอัด 00:03:36.663 --> 00:03:41.171 ยกตัวอย่างเช่น ถ้ารูป มีส่วนสีเขียวติด ๆ กัน 30 พิกเซล 00:03:41.171 --> 00:03:46.019 พวกมันสามารถถูกบันทึกได้เป็น "สีเขียว 30" แทนที่จะถูกบันทึกข้อมูลแยกกันแต่ละพิกเซล 00:03:46.019 --> 00:03:49.194 กระบวนการนี้เรียกว่า การเข้ารหัสระยะเวลา 00:03:49.194 --> 00:03:54.094 เจ้ารูปแบบการบีบอัดนี้เอง ก็ถูกเขียนเป็นระบบฐานสอง NOTE Paragraph 00:03:54.094 --> 00:03:57.164 ฉะนั้นระบบฐานสองคือทุกสิ่งทุกอย่าง สำหรับคอมพิวเตอร์สินะ 00:03:57.164 --> 00:03:58.549 ไม่จำเป็นหรอก 00:03:58.549 --> 00:04:00.967 มีงานวิจัยเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ระบบฐานสาม 00:04:00.967 --> 00:04:03.432 ที่มีวงจรที่ให้สถานะได้สามแบบ 00:04:03.432 --> 00:04:05.252 และแม้แต่คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม 00:04:05.252 --> 00:04:08.916 ที่วงจรสามารถอยู่ได้ในหลายสถานะ ในเวลาเดียวกัน 00:04:08.916 --> 00:04:11.339 แต่ถึงตอนนี้ ไม่มีคอมพิวเตอร์ใด 00:04:11.339 --> 00:04:14.635 ที่ให้ความเสถียรทางกายภาพมากพอ สำหรับการเก็บและถ่ายทอดข้อมูล 00:04:14.635 --> 00:04:17.079 ฉะนั้นในตอนนี้ ทุกอย่างที่คุณเห็น 00:04:17.079 --> 00:04:17.848 ได้ยิน 00:04:17.848 --> 00:04:19.464 และได้อ่านผ่านหน้าจอ 00:04:19.464 --> 00:04:23.097 เป็นผลลัพธ์ของ "ถูก" และ "ผิด" ที่ถูกทำซ้ำเป็นพันล้านครั้ง 00:04:23.097 --> 00:04:25.371 ที่ถูกส่งมาถึงคุณ