WEBVTT 00:00:00.959 --> 00:00:03.974 ลองฝึกใช้อัตราส่วนตรีโกณฯ กับ 00:00:03.974 --> 00:00:06.192 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของเรากัน 00:00:06.192 --> 00:00:11.775 ตรงนี้ เราต้องหาค่าของโคไซน์ ทีต้า กับไซน์ ทีต้า 00:00:11.775 --> 00:00:15.617 ลองเริ่มด้วย โคไซน์ ทีต้า กัน 00:00:15.649 --> 00:00:19.866 โคไซน์ของทีต้าคืออะไร, เมื่อ ทีต้า คือมุมนี่ตรงนี้ 00:00:19.938 --> 00:00:22.606 มันคือสามเหลี่ยมมุมฉากด้วย 00:00:22.606 --> 00:00:25.960 ผมจะให้เวลาคุณคิดสักครู่ 00:00:26.621 --> 00:00:30.839 ในการตอบคำถามนี้ คุณต้องจำนิยามของฟังก์ชันตรีโกณฯ ก่อน 00:00:30.839 --> 00:00:35.674 เพื่อช่วยให้จำได้, เราจะใช้วลี soh cah toa 00:00:35.674 --> 00:00:37.389 soh 00:00:37.389 --> 00:00:38.806 cah 00:00:38.806 --> 00:00:42.657 toa 00:00:42.657 --> 00:00:44.088 soa cah toa 00:00:44.088 --> 00:00:47.655 ส่วนของ soh cah toa ที่เกี่ยวกับโคไซน์ คือ cah 00:00:47.655 --> 00:00:55.472 นี่นิยามไซน์, มันเลยมี 's' นี่นิยามโคไซน์, มันเลยมี 'c' นี่นิยามแทนเจนต์ มันเลยเริ่มด้วย 't' 00:00:55.472 --> 00:00:59.304 ดังนั้นหากคุณดูที่ cah, มันบอกว่า โคไซน์ (ใช้สีเดียวกัน)... 00:00:59.304 --> 00:01:09.689 มันบอกว่าโคไซน์ของมุม เท่ากับด้านประชิดส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:01:09.689 --> 00:01:13.256 งั้นในตัวอย่างนี้, ด้านประชิดคืออะไร? 00:01:13.256 --> 00:01:18.389 ตรงนี้, หากเราดู, มันคือด้านที่อยู่ติดมุม และไม่ใช่ด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:01:18.389 --> 00:01:20.938 ด้านนี้ติดกับมัน และไม่ใช่ด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:01:20.938 --> 00:01:28.805 ด้านนี่บนนี้อยู่ติดกับมุมเรา, แต่มันคือด้านตรงข้ามมุมฉาก มันอยู่ตรงข้ามกับมุมฉาก 00:01:28.805 --> 00:01:33.789 นี่ก็คือด้านตรงข้ามมุมฉากตรงนี้ 00:01:33.789 --> 00:01:37.456 นี่คือ... หากเราดูที่มุมทีต้า, นี่คือด้านประชิด 00:01:37.456 --> 00:01:46.905 และ ตอนเราอยู่ตรงนี้, หากเราคิดถึงด้านตรงข้าม (เราไม่ต้องยุ่งกับมันตอนหาโคไซน์) แต่มันไม่ผิดที่จะเขียนมันไว้ ว่านั่นคือด้านตรงข้าม 00:01:46.905 --> 00:01:49.489 นี่เทียบกับมุมทีต้า 00:01:49.489 --> 00:01:53.472 จากนั้น, เราก็บอกว่าโคไซน์ของทีต้า เท่ากับ ประชิด ส่วนตรงข้ามมุมฉาก 00:01:53.472 --> 00:01:59.573 ด้านประชิดยาว 4 แล้วด้านตรงข้ามมุมฉากล่ะ? 00:01:59.573 --> 00:02:04.157 เรารู้ว่าด้านใดคือด้านตรงข้ามมุมฉาก, แต่เขาไม่ได้บอกความยาวให้เรามา 00:02:04.157 --> 00:02:07.738 แต่เราหาได้โดยใช้ทฤษฎีบทปีทาโกรัส 00:02:07.738 --> 00:02:12.406 เรามีด้าน 2 ด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก, เราก็สามารถหาด้านที่สามได้ 00:02:12.406 --> 00:02:21.121 เรารู้ว่าผลรวมของด้านสั้น 2 ด้้านกำลังสอง เท่ากับด้านตรงข้ามมุมฉากกำลังสอง 00:02:21.121 --> 00:02:35.756 งั้น, เราได้ 4 กำลังสอง, บวก 7 กำลังสอง จะเท่ากับ, ผมจะเรียก h กำลังสอง หรือด้านตรงข้ามกำลังสอง 00:02:35.756 --> 00:02:48.805 หาก 4 กำลังสอง ได้ 16, และ 7 กำลังสอง ได้ 49 มันก็เท่ากับ h กำลังสอง 00:02:48.805 --> 00:02:54.339 ลองดูกัน, 16+50 เป็น 66, งั้น 16+49 ได้ 65 00:02:54.339 --> 00:03:01.556 ด้านนี่ตรงนี้เลยได้ 65 h กำลังสองเท่ากับ 65 00:03:01.556 --> 00:03:06.755 หรือเราบอกได้ว่า h เท่ากับสแควร์รูทของ 65 00:03:06.755 --> 00:03:15.689 มันไม่ดูเหมือนกำลังสองสมบูรณ์เลย - 65 คือ 13 คูณ 5, ทั้งคู่ไม่ใช่กำลังสองสมบูรณ์, นี่เลยเป็นรูปง่ายที่สุดเราได้จากเครื่องหมายรากนี่ 00:03:15.689 --> 00:03:19.306 ด้านตรงข้ามมุมฉากเลยเท่ากับสแควร์รูทของ 65 00:03:19.306 --> 00:03:28.671 ในกรณีนี้, โคไซน์ของทีต้าเท่ากับด้านประชิด, ซึ่งยาว 4, ส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก ซึ่งยาวสแควร์รูทของ 65 00:03:28.671 --> 00:03:34.407 ทีนี้, ลองทำแบบเดียวกับไซน์บ้าง ไซน์ของทีต้าจะเท่ากับอะไร? 00:03:34.407 --> 00:03:36.388 ผมจะให้เวลาคุณคิดสักครู่ 00:03:36.388 --> 00:03:45.721 ทีนี้, soh บอกเราว่า ไซน์ เท่ากับด้านตรงข้าม ส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:03:45.721 --> 00:03:52.408 ในกรณีนี้, เทียบกับมุมทีต้าแล้ว, ด้านตรงข้ามยาว 7 00:03:52.408 --> 00:03:58.306 แล้วด้านตรงข้ามมุมฉาก, หรือความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ยาวเท่าไหร่? เราหาไปแล้ว 00:03:58.306 --> 00:04:02.306 มันคือสแควร์รูทของ 65