0:00:01.023,0:00:04.734 จากโจทย์ ให้เรียงลำดับจากค่าที่น้อยที่สุดไปยังค่าที่มากที่สุด 0:00:04.734,0:00:06.666 จากค่าต่าง ๆ ที่แสดงอยู่นี้ 0:00:06.666,0:00:09.751 เห็นได้ว่าอยู่ภายในเครื่องหมาย "ค่าสัมบูรณ์" 0:00:09.751,0:00:11.483 ลองมาทบทวนกันเล็กน้อย 0:00:11.483,0:00:14.240 "ค่าสัมบูรณ์" หมายถึงระยะห่างระหว่างค่านั้น ๆ กับศูนย์ 0:00:14.240,0:00:15.850 หรือคิดอย่างง่าย ๆ ก็คือ... 0:00:15.850,0:00:18.750 ถ้าค่านั้นเป็น "ค่าลบ" 0:00:18.750,0:00:20.135 เมื่ออยู่ในเครื่องหมาย | | (ค่าสัมบูรณ์) ค่านั้นจะกลายเป็น "ค่าบวก" 0:00:20.135,0:00:22.433 แต่ถ้าค่านั้นเป็นค่าบวกอยู่แล้ว ค่าสัมบูรณ์ที่ได้ก็จะเป็นค่าบวกเช่นเดิม 0:00:22.433,0:00:24.166 เอาล่ะ... เรามาลองทำโจทย์นี้กัน 0:00:24.166,0:00:29.384 ค่าแรก เป็นค่าสัมบูรณ์ของ 5 0:00:29.384,0:00:32.041 5 อยู่ห่างจาก 0 เท่าใด? 0:00:32.041,0:00:36.128 คำตอบคือ เท่ากับ 5 0:00:36.128,0:00:37.580 ซึ่งถ้าเราวาดเส้นจำนวน 0:00:37.580,0:00:39.190 ซึ่งถ้าเราวาดเส้นจำนวน 0:00:39.190,0:00:41.537 เลข 0 อยู่ตรงนี้ และเลข 5 อยู่ตรงนี้ 0:00:41.537,0:00:43.700 ระยะห่างจะเท่ากับ 5 0:00:43.700,0:00:46.503 ดังนั้น ค่าสัมบูรณ์ของ 5 เท่ากับ "5" นั่นเอง 0:00:46.503,0:00:50.662 ต่อไป.. 0:00:50.662,0:00:55.566 ค่าสัมบูรณ์ของ 9-7 0:00:55.642,0:00:58.900 ค่าสัมบูรณ์ของ 9-7 0:00:58.900,0:01:00.583 9 ลบ 7 เท่ากับ 2 0:01:00.583,0:01:04.468 2 ห่างจาก 0 เท่ากับ 2 หน่วย 0:01:04.468,0:01:05.949 ดังนั้น |9-7| ก็คือค่าสัมบูรณ์ของ 2 นั่นเอง 0:01:05.949,0:01:07.866 สรุปก็คือ ถ้าเรามีค่าที่เป็นบวกอยู่ในเครื่องหมาย | | 0:01:07.866,0:01:09.485 คำตอบที่ได้ก็คือ ค่านั้น ๆ 0:01:09.485,0:01:12.119 ค่าสัมบูรณ์ของ 2 ก็จะเท่ากับ 2 0:01:12.119,0:01:18.163 ต่อไป... ค่าสัมบูรณ์ของ 5 - 15 0:01:18.163,0:01:21.771 ต่อไป... ค่าสัมบูรณ์ของ 5 - 15 0:01:21.771,0:01:25.302 5 - 15 เท่ากับ -10 0:01:25.302,0:01:29.001 ค่าสัมบูรณ์ของ 5 - 15 ก็คือค่าสัมบูรณ์ของ -10 นั่นเอง 0:01:29.001,0:01:31.400 ค่าสัมบูรณ์ของ 5 - 15 ก็คือค่าสัมบูรณ์ของ -10 นั่นเอง 0:01:31.400,0:01:33.749 ถ้ามีค่าที่เป็นลบอยู่ภายในเครื่องหมาย | | 0:01:33.749,0:01:36.017 ค่าสัมบูรณ์ของค่านั้น ๆ ก็คือค่าที่เป็นบวก 0:01:36.017,0:01:37.391 ดังนั้น จะได้ว่า ค่าสัมบูรณ์ของ -10 เท่ากับ 10 0:01:37.391,0:01:39.768 เราอาจหาค่าสัมบูรณ์ของ -10 ได้อีกวิธีหนึ่ง 0:01:39.768,0:01:42.494 โดยใช้เส้นจำนวน 0:01:42.494,0:01:44.246 โดยใช้เส้นจำนวน 0:01:44.246,0:01:46.464 -10 จะอยู่ทางซ้ายของเลขศูนย์ 0:01:46.464,0:01:49.113 -10 จะอยู่ทางซ้ายของเลขศูนย์ 0:01:49.113,0:01:55.733 ต่อไป.... ค่าสัมบูรณ์ของ 0 0:01:55.733,0:01:57.985 ต่อไป.... ค่าสัมบูรณ์ของ 0 0:01:57.985,0:02:00.842 ก็เท่ากับ 0 นั่นเอง 0:02:00.842,0:02:03.415 ก็เท่ากับ 0 นั่นเอง 0:02:03.415,0:02:06.042 ก็เท่ากับ 0 นั่นเอง 0:02:06.042,0:02:13.003 สุดท้าย... ค่าสัมบูรณ์ของ -3 0:02:13.003,0:02:15.267 -3 อยู่ห่างจากเลขศูนย์ไปทางซ้าย 3 หน่วย 0:02:15.267,0:02:17.691 หรืออีกวิธีหนึ่งคือ กำจัดเครื่องหมายลบออกไป 0:02:17.691,0:02:20.226 ก็จะได้ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ "3" นั่นเอง 0:02:20.226,0:02:24.180 ตอนนี้ เราได้คำตอบของค่าสัมบูรณ์ทั้งหมดแล้ว 0:02:24.180,0:02:27.200 ลองมาเรียงลำดับจากค่าน้อยที่สุดไปยังค่ามากที่สุด 0:02:27.200,0:02:29.200 จากค่าทั้งหมดนี้ ค่าใดมีค่าน้อยที่สุด? 0:02:29.200,0:02:31.321 จากค่าทั้งหมดนี้ ค่าใดมีค่าน้อยที่สุด? 0:02:31.321,0:02:33.418 คำตอบคือ ค่าสัมบูรณ์ของ 0 0:02:33.418,0:02:36.550 คำตอบคือ ค่าสัมบูรณ์ของ 0 เป็นค่าที่น้อยที่สุด 0:02:36.550,0:02:39.635 ค่าต่อไปคือค่าใด? 0:02:39.635,0:02:42.841 ต่อไปคือ 2 0:02:42.841,0:02:43.770 ต่อไปคือ 2 0:02:43.770,0:02:47.531 ซึ่งมาจาก |9 - 7| 0:02:47.531,0:02:51.350 ซึ่งมาจาก |9 - 7| 0:02:51.350,0:02:52.516 และต่อไปคือค่าใด? 0:02:52.516,0:02:54.834 ที่เหลืออยู่มี 3, 5 และ 10 0:02:54.834,0:02:59.527 ดังนั้น ค่าต่อไปคือ 3 0:02:59.527,0:03:05.399 ซึ่งมาจากค่าสัมบูรณ์ของ -3 0:03:05.399,0:03:08.002 และต่อไปคือ 5 0:03:08.002,0:03:11.029 มาจากค่าสัมบูรณ์ของ 5 0:03:11.029,0:03:13.603 สุดท้าย คือ 10 0:03:13.603,0:03:19.800 มาจากค่าสัมบูรณ์ของ 5 - 15 0:03:19.800,0:03:22.000 เสร็จแล้วครับ....:)