WEBVTT 00:00:00.840 --> 00:00:02.056 สวัสดีค่ะ NOTE Paragraph 00:00:02.080 --> 00:00:04.560 ฉันขอแนะนำทุกคนให้รู้จักไลก้ากัน 00:00:05.680 --> 00:00:09.880 มันอาจดูเป็นหมูน่ารักธรรมดาตัวหนึ่ง 00:00:10.800 --> 00:00:17.336 แต่สำหรับผู้ป่วยรอการปลูกถ่ายอวัยวะ หลายแสนคนนั้น 00:00:17.360 --> 00:00:19.640 ไลก้าเปรียบเสมือนความหวังของพวกเขา 00:00:20.960 --> 00:00:24.056 ตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1970 00:00:24.080 --> 00:00:27.376 เมื่อมีการใช้วิธีปลูกถ่ายอวัยวะ เพื่อรักษาผู้ป่วยได้นั้น 00:00:27.400 --> 00:00:31.616 สำหรับผู้ป่วยไตวายหรือ โรคที่อวัยวะส่วนอื่น ๆ 00:00:31.640 --> 00:00:34.240 อวัยวะที่จะใช้รักษากลับไม่เพียงพอ 00:00:34.920 --> 00:00:36.816 ในหลายสิบปีมานี้ 00:00:36.840 --> 00:00:41.880 ปัญหานี้กลับแย่กว่าเดิม เนื่องจากมีความต้องการที่สูงขึ้นมาก 00:00:43.400 --> 00:00:45.696 ในเวลานี้ที่อเมริกา 00:00:45.720 --> 00:00:49.896 มีผู้ป่วยเกือบ 115,000 ราย 00:00:49.920 --> 00:00:52.680 ที่รอการปลูกถ่ายอวัยวะ 00:00:53.520 --> 00:00:55.336 และจะมีเพิ่มอีก 1 ราย 00:00:55.360 --> 00:00:59.120 เมื่อการพูดของฉันจบลง NOTE Paragraph 00:01:00.120 --> 00:01:04.495 วันนี้ผู้ป่วยราว 100 ราย จะได้อวัยวะใหม่ 00:01:04.519 --> 00:01:07.336 โอกาสใหม่ในชีวิต 00:01:07.360 --> 00:01:10.336 แต่เมื่อวันนี้สิ้นสุดลง 00:01:10.360 --> 00:01:12.840 อีก 20 ชีวิต ต้องตายจากไป 00:01:14.240 --> 00:01:16.736 นับเป็นเหตุการณ์ที่เศร้าสลด 00:01:16.760 --> 00:01:19.656 ต่อผู้ป่วย รวมทั้งครอบครัว 00:01:19.680 --> 00:01:22.680 และแพทย์ผู้รักษา NOTE Paragraph 00:01:24.000 --> 00:01:25.936 ในบางประเทศ 00:01:25.960 --> 00:01:29.560 เรื่องนี้กลายเป็นปัญหาสังคมที่น่าวิตก 00:01:30.120 --> 00:01:32.096 ดังเช่นในเอเชีย 00:01:32.120 --> 00:01:36.176 มีข่าวเกี่ยวกับผู้ป่วยที่อับจนหนทาง 00:01:36.200 --> 00:01:40.120 ต้องซื้ออวัยวะจากตลาดมืดที่ไร้ศีลธรรม 00:01:41.600 --> 00:01:47.016 เห็นได้ชัดว่าวิกฤตินี้ต้องการทางออก 00:01:47.040 --> 00:01:49.600 หลายชีวิตต่างตกอยู่ในความเสี่ยง NOTE Paragraph 00:01:51.160 --> 00:01:54.216 ในฐานะนักชีววิทยาและนักพันธุศาสตร์ 00:01:54.240 --> 00:01:57.920 ฉันตั้งเป้าที่จะแก้ไขปัญหานี้ 00:01:58.760 --> 00:02:03.776 วันนี้ฉันพูดได้ว่า เรากำลังไปถึงเป้าหมายนั้น 00:02:03.800 --> 00:02:05.000 เพราะไลก้า 00:02:05.600 --> 00:02:07.936 ตอนนี้เราสามารถใช้ เทคโนโลยีดัดแปลงพันธุกรรม 00:02:07.960 --> 00:02:13.816 สร้างอวัยวะปลูกถ่ายให้มนุษย์ 00:02:13.840 --> 00:02:16.400 จากหมูได้อย่างปลอดภัย NOTE Paragraph 00:02:17.920 --> 00:02:22.176 ก่อนที่จะกล่าวถึง วิทยาการอันน่าเหลือเชื่อนี้ 00:02:22.200 --> 00:02:26.600 มาทำความเข้าใจ การปลูกถ่ายอวัยวะข้ามสายพันธุ์กันก่อน 00:02:27.120 --> 00:02:31.600 กระบวนการนี้ทำโดย ปลูกถ่ายอวัยวะจากสัตว์สู่มนุษย์ 00:02:32.480 --> 00:02:35.496 อาจสงสัยว่าทำไมถึงใช้อวัยวะหมู 00:02:35.520 --> 00:02:40.336 เพราะอวัยวะหมูบางส่วนมีขนาดและกลไก 00:02:40.360 --> 00:02:41.560 คล้ายกับของมนุษย์ NOTE Paragraph 00:02:42.280 --> 00:02:44.696 ตลอดครึ่งศตวรรษมาแล้ว 00:02:44.720 --> 00:02:49.576 ที่นักวิจัยพยายาม ทดลองปลูกถ่ายอวัยวะข้ามสายพันธุ์ 00:02:49.600 --> 00:02:52.480 แต่กลับล้มเหลวหรือแทบไม่คืบหน้าเลย 00:02:53.080 --> 00:02:54.280 เพราะอะไรน่ะหรือ 00:02:54.880 --> 00:02:57.640 มีอุปสรรคสำคัญ 2 ประการ 00:02:58.240 --> 00:03:01.416 หนึ่งคือการต่อต้านโดยระบบภูมิคุ้มกัน 00:03:01.440 --> 00:03:05.256 เมื่อมีการตรวจพบอวัยวะแปลกปลอม 00:03:05.280 --> 00:03:06.520 ร่างกายจะเกิดการต่อต้าน 00:03:07.400 --> 00:03:11.720 สองคือปัญหาที่เกิดจากอวัยวะหมู 00:03:12.760 --> 00:03:17.176 หมูมีไวรัส ที่ไม่เป็นอันตรายต่อตัวมันเอง 00:03:17.200 --> 00:03:19.856 แต่สามารถถ่ายทอดสู่มนุษย์ได้ 00:03:19.880 --> 00:03:25.376 เรียกว่า the porcine endogenous retrovirus (PERV) 00:03:25.400 --> 00:03:31.400 ไวรัสนี้สามารถแพร่ระบาดได้ คล้ายกับเชื้อเอชไอวี 00:03:32.280 --> 00:03:37.056 เนื่องจากยังไม่มีวิธีป้องกันที่ใช้ได้ผล 00:03:37.080 --> 00:03:42.680 ทำให้การวิจัยปลูกถ่ายอวัยวะข้ามสายพันธุ์ หยุดชะงักมากว่า 10 ปี 00:03:43.600 --> 00:03:47.680 จนถึงตอนนี้ก็แทบไม่เห็นความก้าวหน้าเลย NOTE Paragraph 00:03:49.480 --> 00:03:53.160 มาฟังความเป็นมาของฉันกับไลก้ากันค่ะ 00:03:54.280 --> 00:03:58.296 จุดเริ่มต้นของฉัน คือภูเขาเอ๋อเหมยในประเทศจีน 00:03:58.320 --> 00:04:02.736 ซึ่งถูกกล่าวถึงในนวนิยายชื่อดังต่าง ๆ 00:04:02.760 --> 00:04:05.400 เช่นเรื่อง "เสือหมอบมังกรซุ่ม" 00:04:05.840 --> 00:04:08.160 ที่แห่งนี้คือบ้านของฉัน 00:04:08.920 --> 00:04:10.656 การที่ได้โตมาที่ภูเขานี้ 00:04:10.680 --> 00:04:13.760 ฉันกับธรรมชาติ จึงมีความผูกพันที่แน่นแฟ้นต่อกัน 00:04:14.680 --> 00:04:17.736 นี่เป็นรูปของฉันตอน 7 ขวบ 00:04:17.760 --> 00:04:21.176 ถ่ายที่หน้าวัดพุทธโบราณ 00:04:21.200 --> 00:04:23.216 มีลิงเกาะอยู่บนไหล่ด้วย 00:04:23.240 --> 00:04:26.816 ฉันยังจำได้ชัดเจนตอนนั้นที่ฉันกับเพื่อน 00:04:26.840 --> 00:04:30.016 โยนถั่วไปมาเพื่อล่อลิงไปทางอื่น 00:04:30.040 --> 00:04:32.720 เพื่อที่เราจะข้ามหุบเขาไปเดินเล่นได้ NOTE Paragraph 00:04:33.840 --> 00:04:35.336 ฉันรักธรรมชาติ 00:04:35.360 --> 00:04:38.216 ตอนเลือกคณะศึกษาต่อ 00:04:38.240 --> 00:04:42.240 ฉันจึงเลือกเรียนชีววิทยา ที่มหาวิทยาลัยปักกิ่ง เมืองปักกิ่ง 00:04:43.760 --> 00:04:46.256 แต่ว่ายิ่งฉันศึกษามากขึ้น 00:04:46.280 --> 00:04:47.600 กลับยิ่งสงสัยมากขึ้น 00:04:48.520 --> 00:04:53.056 ลักษณะทางพันธุกรรมของคนกับสัตว์คล้ายกัน 00:04:53.080 --> 00:04:55.000 แต่ทำไมภายนอกแทบดูไม่เหมือนกันเลย 00:04:55.920 --> 00:05:00.776 ระบบภูมิคุ้มกันของเราสามารถ ทำลายเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ 00:05:00.800 --> 00:05:03.520 แต่ทำไมถึงฉลาดพอที่จะไม่ทำร้ายตัวเองล่ะ 00:05:04.280 --> 00:05:06.800 คำถามพวกนี้รบกวนฉันอย่างมาก 00:05:07.880 --> 00:05:10.720 อาจฟังดูคงแก่เรียน แต่อย่าลืมว่า ฉันเป็นนักวิทยาศาสตร์ NOTE Paragraph 00:05:12.000 --> 00:05:17.256 หลักจากเรียนจบ ฉันคิดได้ว่า ฉันไม่อยากสงสัยอีกต่อไป 00:05:17.280 --> 00:05:20.440 ฉันจึงตัดสินใจลงมือหาคำตอบด้วยตัวเอง 00:05:21.560 --> 00:05:25.616 ในปี 2008 ฉันโชคดีมากที่ได้ศึกษาต่อ 00:05:25.640 --> 00:05:29.176 ปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 00:05:29.200 --> 00:05:31.280 และได้ร่วมงานกับดร.จอร์จ เชิร์ช 00:05:31.920 --> 00:05:33.656 ตอนทำงานในห้องทดลองของเขา 00:05:33.680 --> 00:05:38.360 ฉันได้เรียนและทำการทดลอง ลักษณะพันธุกรรมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 00:05:39.200 --> 00:05:41.456 ซึ่งจากการทดลองทั้งหมด 00:05:41.480 --> 00:05:44.680 มีครั้งหนึ่ง ที่เป็นเหตุให้มีการทดลองไลก้าขึ้น 00:05:45.520 --> 00:05:51.456 ปี 2013 ฉันและเพื่อนร่วมงาน ทดลองดัดแปลงเซลล์ของมนุษย์ 00:05:51.480 --> 00:05:53.936 โดยใช้วิธีที่เรียกว่า 00:05:53.960 --> 00:05:55.496 คริสเปอร์ (CRISPR) 00:05:55.520 --> 00:05:58.736 พวกเราเป็นหนึ่งในคณะวิจัย 2 กลุ่ม 00:05:58.760 --> 00:06:04.136 ที่สามารถใช้คริสเปอร์ ในการดัดแปลงดีเอ็นเอได้สำเร็จ 00:06:04.160 --> 00:06:07.680 นับเป็นการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ ที่น่าตื่นเต้นอย่างมาก 00:06:08.800 --> 00:06:13.136 เทคโนโลยีคริสเปอร์ มีองค์ประกอบ 2 ส่วน 00:06:13.160 --> 00:06:16.656 ส่วนที่ทำหน้าที่เหมือนกรรไกร เรียกว่าเอนไซม์คริสเปอร์ 00:06:16.680 --> 00:06:19.360 และอีกส่วนคืออาร์เอ็นเอนำทาง 00:06:19.920 --> 00:06:24.056 ลองคิดว่ามันเป็นกรรไกรตัดต่อยีน กับกล้องจุลทรรศน์นะคะ 00:06:24.080 --> 00:06:27.176 ตัวกล้องจุลทรรศน์ก็คืออาร์เอ็นเอนำทาง 00:06:27.200 --> 00:06:31.216 ที่ช่วยนำกรรไกรไปยังตำแหน่งที่ต้องการ 00:06:31.240 --> 00:06:33.256 แล้วบอกให้รู้ว่าตัดตรงนี้นะ 00:06:33.280 --> 00:06:38.520 จากนั้นเอนไซม์คริสเปอร์จะ ตัดหรือซ่อมแซมดีเอ็นเอตามที่เราต้องการ NOTE Paragraph 00:06:39.720 --> 00:06:42.936 ไม่นานหลังจากเราเสนอผลการวิจัยนี้แล้ว 00:06:42.960 --> 00:06:48.896 แพทย์ที่โรงพยาบาลทั่วไปแมส สนใจเรื่องการนำผลการวิจัยของเรา 00:06:48.920 --> 00:06:50.496 มาใช้ทางการแพทย์ 00:06:50.520 --> 00:06:52.016 พวกเขาจึงติดต่อมา 00:06:52.040 --> 00:06:56.136 และนั่นทำให้พวกเราได้เห็นถึงศักยภาพ ในการใช้วิธีคริสเปอร์ 00:06:56.160 --> 00:06:58.760 มาแก้ปัญหาวิกฤติขาดแคลนอวัยวะปลูกถ่าย 00:06:59.840 --> 00:07:01.456 แล้วเราทำได้อย่างไร 00:07:01.480 --> 00:07:04.600 วิธีที่ใช้นั้นง่ายดายแต่กลับซับซ้อนมาก 00:07:06.080 --> 00:07:12.096 เริ่มจากดัดแปลงเซลล์ในหมูให้ปลอดเชื้อไวรัส 00:07:12.120 --> 00:07:14.896 และไม่ถูกต้านจากระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ 00:07:14.920 --> 00:07:19.696 จากนั้นฝังนิวเคลียสของเซลล์นั้นในไข่ของหมู 00:07:19.720 --> 00:07:22.616 และให้เกิดการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อน 00:07:22.640 --> 00:07:27.936 ฝังตัวอ่อนที่ได้ในมดลูกของแม่หมู 00:07:27.960 --> 00:07:30.000 และให้ตัวอ่อนแบ่งตัวจนเป็นหมูเต็มตัว 00:07:30.680 --> 00:07:33.040 ซึ่งก็คือกระบวนการโคลนนิ่ง 00:07:33.760 --> 00:07:37.616 อวัยวะลูกหมูจะมีลักษณะพันธุกรรม 00:07:37.640 --> 00:07:41.240 ที่เข้ากันได้ภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์ 00:07:42.960 --> 00:07:49.376 ในปี 2015 ทีมวิจัยของเราได้จัดการ ปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัสก่อนในขั้นแรก 00:07:49.400 --> 00:07:55.576 โดยการนำสำเนาสารพันธุกรรม ไวรัส PERV ทั้ง 62 00:07:55.600 --> 00:07:57.000 ออกมาจากจีโนมของหมู 00:07:58.200 --> 00:08:02.336 แต่ก็แทบเป็นไปไม่ได้เลย 00:08:02.360 --> 00:08:03.776 แม้จะใช้วิธีคริสเปอร์ 00:08:03.800 --> 00:08:08.616 เราดัดแปลงเซลล์ได้เพียง 1-2 แบบ 00:08:08.640 --> 00:08:15.176 ซึ่งสถิติที่เราทำได้ มีแค่ 5 เท่านั้น 00:08:15.200 --> 00:08:20.440 หากอยากได้ผลที่ต้องการ เราต้องทำเพิ่ม ให้ได้มากกว่า 10 เท่า 00:08:21.400 --> 00:08:25.056 เราได้วางแผนการทดลองอย่างดี และปฏิบัติการนับร้อย ๆ ครั้ง 00:08:25.080 --> 00:08:28.296 จนในที่สุดก็นำไวรัสทั้งหมดออกได้สำเร็จ 00:08:28.320 --> 00:08:29.896 และทำลายสถิติเดิมลงได้ 00:08:29.920 --> 00:08:32.376 ที่สำคัญกว่านั้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า 00:08:32.400 --> 00:08:37.456 เราสามารถยับยั้งไม่ให้ไวรัสอันตรายตัวนี้ 00:08:37.480 --> 00:08:39.799 ถ่ายทอดไปสู่มนุษย์ได้ NOTE Paragraph 00:08:41.080 --> 00:08:45.456 ปีที่แล้ว บริษัท eGenesis ของเรา ใช้เทคโนโลยีดัดแปลงเซลล์และโคลนนิ่ง 00:08:45.480 --> 00:08:49.320 ให้กำเนิดไลก้าขึ้นมาได้ 00:08:50.160 --> 00:08:54.640 นับเป็นหมูตัวแรก ที่ไม่มีไวรัส PERV ตั้งแต่เกิด NOTE Paragraph 00:08:55.480 --> 00:08:59.216 (เสียงปรบมือ) NOTE Paragraph 00:08:59.240 --> 00:09:03.216 ไลก้านับเป็นก้าวแรกที่สำคัญ 00:09:03.240 --> 00:09:06.976 ของการปลูกถ่ายอวัยวะข้ามสายพันธ์ุ ที่มีความปลอดภัย 00:09:07.000 --> 00:09:08.896 และสามารถใช้เป็นแนวทาง 00:09:08.920 --> 00:09:11.896 ต่อการศึกษาดัดแปลงพันธุกรรมในอนาคต 00:09:11.920 --> 00:09:14.120 เพื่อแก้ปัญหาด้านภูมิคุ้มกันได้ 00:09:14.760 --> 00:09:19.856 จากนั้นมา เราได้สร้างหมูที่ไม่มีไวรัส มากกว่า 30 ตัวแล้ว 00:09:19.880 --> 00:09:25.480 พวกมันอาจเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ที่ล้ำหน้าที่สุดในโลกก็ว่าได้ 00:09:26.400 --> 00:09:29.696 ชื่อของไลก้ามาจากสุนัขของโซเวียต 00:09:29.720 --> 00:09:33.040 ที่่เป็นสัตว์ตัวแรกที่ได้โคจรรอบโลกในอวกาศ 00:09:33.600 --> 00:09:36.576 เราหวังว่าไลก้าและพี่น้องของมัน 00:09:36.600 --> 00:09:41.400 สามารถนำเราไปสู่การค้นพบวิทยาการใหม่ ทั้งทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ NOTE Paragraph 00:09:43.360 --> 00:09:48.496 ลองจินตนาการนะคะ หากผู้ป่วยตับล้มเหลว 00:09:48.520 --> 00:09:51.176 มีตับใหม่มารักษาได้ทันที 00:09:51.200 --> 00:09:54.256 โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค 00:09:54.280 --> 00:09:56.080 หรือรอรับจากผู้เสียชีวิต 00:09:57.600 --> 00:10:01.696 หรือหากผู้ป่วยเบาหวาน 00:10:01.720 --> 00:10:05.456 ไม่ต้องพึ่งอินซูลินหลังอาหารทุกมื้อ 00:10:05.480 --> 00:10:09.576 เพราะเราสร้างเซลล์ในตับอ่อน 00:10:09.600 --> 00:10:11.880 ให้สามารถผลิตอินซูลินเองได้ 00:10:12.600 --> 00:10:17.576 และลองคิดดูว่าหากผู้ป่วยไตวาย 00:10:17.600 --> 00:10:21.280 ไม่ต้องทนทำการฟอกไตอีกต่อไป 00:10:22.320 --> 00:10:26.056 เรามุ่งมั่นที่จะสร้าง จินตนาการนั้นให้เป็นจริง 00:10:26.080 --> 00:10:28.880 โดยมีอวัยวะรักษาผู้ป่วยทุกคนอย่างทั่วถึง 00:10:29.720 --> 00:10:33.456 และในที่สุดเราก็มีสิ่งที่ใช้แก้ปัญหา 00:10:33.480 --> 00:10:35.616 ที่ไม่สามารถจัดการได้ก่อนหน้านี้ 00:10:35.640 --> 00:10:38.920 และไลก้าเป็นเพียงก้าวแรกเท่านั้น 00:10:40.040 --> 00:10:43.576 เราต้องรู้จักผ่อนโอนต่อธรรมชาติ 00:10:43.600 --> 00:10:46.216 เพราะยังมีปัญหาอีกหลายประการ ให้เราต้องจัดการ 00:10:46.240 --> 00:10:47.856 รวมถึงด้านระบบภูมิคุ้มกัน 00:10:47.880 --> 00:10:51.840 และสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่เหนือความคาดการณ์ 00:10:52.760 --> 00:10:58.896 อย่างไรก็ดี นี่เป็นหน้าที่ของเรา ในการนำวิทยาการล้ำสมัยนี้ 00:10:58.920 --> 00:11:04.240 มาช่วยชีวิตผู้ป่วยทุกคนที่รอการรักษาอยู่ NOTE Paragraph 00:11:05.480 --> 00:11:06.736 ขอบคุณมากค่ะ NOTE Paragraph 00:11:06.760 --> 00:11:11.600 (เสียงปรบมือ) NOTE Paragraph 00:11:17.800 --> 00:11:21.296 ผลงานวิจัยนี้ยอดเยี่ยมมากครับคุณลู่หาน 00:11:21.320 --> 00:11:22.520 มาข้างหน้าเลยครับ 00:11:23.640 --> 00:11:28.056 แล้วขั้นต่อไปเป็นอะไรครับ ในเมื่อคุณกำจัดไวรัสได้แล้ว 00:11:28.080 --> 00:11:30.416 สิ่งต่อไปคือพยายาม 00:11:30.440 --> 00:11:34.216 ไม่ให้ร่างกายมนุษย์ต่อต้านอวัยวะปลูกถ่าย 00:11:34.240 --> 00:11:36.040 จะมีการดำเนินการอย่างไรบ้างครับ NOTE Paragraph 00:11:37.160 --> 00:11:39.416 กระบวนการนี้นับว่าซับซ้อนมากค่ะ 00:11:39.440 --> 00:11:43.896 คือต้องมีการนำสารก่อภูมิต้านทาน ออกจากตัวหมู 00:11:43.920 --> 00:11:47.336 ซึ่งเราสามารถศึกษาเรื่องนี้ได้จากโรคมะเร็ง 00:11:47.360 --> 00:11:51.536 เช่นมะเร็งลุกลามหรือหลบหลึก ระบบภูมิคุ้มกันได้อย่างไร 00:11:51.560 --> 00:11:56.016 เราสามารถเลียนแบบวิธีที่มันใช้ 00:11:56.040 --> 00:11:58.376 มาใช้กับอวัยวะของหมู 00:11:58.400 --> 00:12:01.480 เพื่อหลอกไม่ให้ระบบภูมิคุ้มกันเรา ต่อต้านอวัยวะนั้น NOTE Paragraph 00:12:03.680 --> 00:12:07.056 คุณพอคาดการณ์ได้ไหมครับ 00:12:07.080 --> 00:12:10.400 ว่าการปลูกถ่ายอวัยวะวิธีนี้จะสำเร็จเมื่อใด NOTE Paragraph 00:12:11.360 --> 00:12:15.240 จะเหมือนฉันพูดไม่จริงจัง ถ้าให้ระบุเวลาไปเลยนะคะ NOTE Paragraph 00:12:16.200 --> 00:12:18.320 แต่ที่ TED เราก็ไม่ได้จริงจังตลอดนี่ครับ NOTE Paragraph 00:12:18.760 --> 00:12:20.496 ค่ะ เราได้มีการเร่งดำเนินการ 00:12:20.520 --> 00:12:22.600 เพื่อใช้วิธีนี้รักษาผู้ป่วยได้โดยเร็วค่ะ NOTE Paragraph 00:12:23.440 --> 00:12:26.336 สรุปว่าคุณก็ไม่คิด 00:12:26.360 --> 00:12:28.736 ว่าจะสำเร็จภายใน 5 ปี 10 ปี ใช่ไหมครับ NOTE Paragraph 00:12:28.760 --> 00:12:31.160 แน่นอนว่าเราได้แต่หวัง ว่าจะเป็นจริงได้ใน 10 ปีค่ะ NOTE Paragraph 00:12:32.080 --> 00:12:34.016 (เสียงหัวเราะ) NOTE Paragraph 00:12:34.040 --> 00:12:37.656 ครับ หลายคนอาจตื่นเต้น 00:12:37.680 --> 00:12:39.176 กับพัฒนาการอันยอดเยี่ยมนี้ 00:12:39.200 --> 00:12:41.616 แต่คนอีกส่วนอาจคิดว่า 00:12:41.640 --> 00:12:42.896 เราไม่ควรนำหมูน่ารัก ๆ 00:12:42.920 --> 00:12:47.496 มาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวมนุษย์เลย 00:12:47.520 --> 00:12:49.960 คุณเห็นว่าอย่างไรบ้างครับ NOTE Paragraph 00:12:51.120 --> 00:12:52.376 ค่ะ 00:12:52.400 --> 00:12:57.296 ลองนึกดูว่าหมู 1 ตัว ช่วยคนได้ 8 ชีวิตนะคะ 00:12:57.320 --> 00:13:00.416 และเช่นเดียวกับการบริจาคอวัยวะในคน 00:13:00.440 --> 00:13:03.176 ถ้าใช้ไตหมูแค่ข้างเดียว 00:13:03.200 --> 00:13:05.096 หมูก็มีชีวิตต่อไปได้ 00:13:05.120 --> 00:13:09.176 ซึ่งเราตระหนักดีถึงประเด็นนี้ 00:13:09.200 --> 00:13:13.576 แต่ท้ายที่สุด จุดประสงค์เราคือ การนำมาใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ 00:13:13.600 --> 00:13:16.296 เพื่อตัวผู้ป่วยและครอบครัวค่ะ NOTE Paragraph 00:13:16.320 --> 00:13:19.600 และไม่มีใครมีสิทธิ์ว่าคุณด้วย ถ้าเขายังกินเบคอนอยู่นะ จริงไหมครับ NOTE Paragraph 00:13:20.440 --> 00:13:21.656 พูดได้ดีค่ะ NOTE Paragraph 00:13:21.680 --> 00:13:23.136 (เสียงหัวเราะ) 00:13:23.160 --> 00:13:25.616 ขอบคุณอย่างยิ่งครับ คุณลู่หาน ขอบคุณมากค่ะ 00:13:25.640 --> 00:13:27.880 (เสียงปรบมือ)