1 00:00:00,000 --> 00:00:00,670 2 00:00:00,670 --> 00:00:04,045 สามเหลี่ยมที่เรามีตรงนี้เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก 3 00:00:04,045 --> 00:00:06,600 และมันเป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก เพราะมันมีมุม 90 องศา 4 00:00:06,600 --> 00:00:09,240 หรือมีมุมฉากในนั้น 5 00:00:09,240 --> 00:00:12,520 ทีนี้ เราเรียกด้านยาวที่สุดของสามเหลี่ยมมุมฉาก 6 00:00:12,520 --> 00:00:14,599 เราเรียกด้านนั้น หรือคุณ 7 00:00:14,599 --> 00:00:17,140 มองมันเป็นด้านที่ยาวที่สุด ของสามเหลี่ยมมุมฉาก หรือด้าน 8 00:00:17,140 --> 00:00:20,980 ตรงข้ามกับมุม 90 องศาก็ได้ มันเรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก (hypotenuse) 9 00:00:20,980 --> 00:00:23,740 เป็นคำสวยหรูสำหรับหลักการง่ายๆ 10 00:00:23,740 --> 00:00:26,140 มันก็แค่ด้านที่ยาวที่สุดของ สามเหลี่ยมมุมฉาก หรือ 11 00:00:26,140 --> 00:00:27,542 ด้านตรงข้ามมุม 90 องศา 12 00:00:27,542 --> 00:00:29,500 และมันน่ารู้ไว้เพราะบางคน 13 00:00:29,500 --> 00:00:30,090 เรียกมันว่า hypotenuse 14 00:00:30,090 --> 00:00:32,548 คุณก็บอกว่า โอ้ เขาพูดถึงด้านนี่ตรงนี้ 15 00:00:32,548 --> 00:00:36,580 ด้านที่ยาวที่สุด ด้านที่ตรงข้ามกับมุม 90 องศา 16 00:00:36,580 --> 00:00:38,860 ทีนี้ สิ่งที่ผมอยากทำในวิดีโอนี้ 17 00:00:38,860 --> 00:00:42,167 คือพิสูจน์ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ชื่อดังมาก 18 00:00:42,167 --> 00:00:43,750 และคุณอาจเห็นแล้วว่ามันคืออะไร 19 00:00:43,750 --> 00:00:46,370 ความสัมพันธ์ชื่อดังระหว่างความยาว 20 00:00:46,370 --> 00:00:48,840 ด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก 21 00:00:48,840 --> 00:00:53,210 สมมุติว่าความยาว AC ตัว A พิมพ์ใหญ่ 22 00:00:53,210 --> 00:00:55,930 C พิมพ์ใหญ่ เรียกความยาวว่า a พิมพ์เล็ก 23 00:00:55,930 --> 00:01:00,040 ลองเรียกว่าความยาว BC ว่า b เล็กตรงนี้ 24 00:01:00,040 --> 00:01:03,420 ผมจะใช้ตัวพิมพ์ใหญ่แทนจุด ตัวพิมพ์เล็กแทนความยาว 25 00:01:03,420 --> 00:01:06,630 และลองเรียกความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ความยาวของ AB 26 00:01:06,630 --> 00:01:07,822 เรียกมันว่า c 27 00:01:07,822 --> 00:01:10,030 ลองดูว่าเราหาความสัมพันธ์ 28 00:01:10,030 --> 00:01:12,790 ระหว่าง a, b และ c ได้ไหม 29 00:01:12,790 --> 00:01:14,780 และเพื่อหาความสัมพันธ์ ผมจะสร้าง 30 00:01:14,780 --> 00:01:16,410 เส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงอีกเส้น 31 00:01:16,410 --> 00:01:19,520 ผมควรเรียกว่าอย่างนั้น ระหว่างจุด C กับด้านตรงข้ามมุมฉาก 32 00:01:19,520 --> 00:01:21,600 ผมจะสร้างมันให้ 33 00:01:21,600 --> 00:01:23,880 มันตัดกันเป็นมุมฉาก 34 00:01:23,880 --> 00:01:25,006 คุณทำได้เสมอ 35 00:01:25,006 --> 00:01:27,005 และเราจะเรียกจุดนี่ตรงนี้ 36 00:01:27,005 --> 00:01:28,120 เราจะเรียกจุดนี้ว่า D ใหญ่ 37 00:01:28,120 --> 00:01:31,010 แล้วถ้าคุณสงสัยว่าทำไม คุณถึงทำอย่างนั้ได้เสมอ? 38 00:01:31,010 --> 00:01:33,634 คุณก็นึกภาพว่าหมุนสามเหลี่ยมทั้งรูปแบบนี้ 39 00:01:33,634 --> 00:01:36,050 มันไม่ใช่วิธีพิสูจน์ที่รัดกุม แต่มันทำให้คุณ 40 00:01:36,050 --> 00:01:38,100 เข้าใจหลักทั่วไปว่าคุณ 41 00:01:38,100 --> 00:01:39,810 สร้างจุดอย่างนี้ได้อย่างไร 42 00:01:39,810 --> 00:01:41,260 ถ้าผมหมุนมันไป 43 00:01:41,260 --> 00:01:44,750 ตอนนี้ด้านตรงข้ามมุมฉากของเรา เราจะอยู่บน ด้านตรงข้ามมุมฉาก 44 00:01:44,750 --> 00:01:48,414 ตอนนี้นี่คือจุด B นี่คือจุด A 45 00:01:48,414 --> 00:01:50,580 เราได้หมุนรูปทั้งหมดไป 46 00:01:50,580 --> 00:01:52,710 นี่คือจุด C คุณนึกภาพว่า 47 00:01:52,710 --> 00:01:55,820 ปล่อยก้อนหินจากจุด C โดยมีเชือกผูก 48 00:01:55,820 --> 00:01:59,460 แล้วมันจะกระทบด้านตรงข้ามมุมฉากเป็นมุมฉาก 49 00:01:59,460 --> 00:02:02,980 นั่นก็คือสิ่งที่เราทำเพื่อสร้างส่วนของเส้นตรง CD 50 00:02:02,980 --> 00:02:05,570 โดยเราใส่จุด D ตรงนี้ 51 00:02:05,570 --> 00:02:07,220 และสาเหตุที่เราทำอย่างนั้นคือ เรา 52 00:02:07,220 --> 00:02:09,289 จะหาความสัมพันธ์ที่น่าสนใจต่าง ๆ 53 00:02:09,289 --> 00:02:10,490 ระหว่างสามเหลี่ยมคล้าย 54 00:02:10,490 --> 00:02:12,180 เพราะเรามีสามเหลี่ยมสามรูปตรงนี้ 55 00:02:12,180 --> 00:02:15,604 เรามีสามเหลี่ยม ADC เรามีสามเหลี่ยม DBC 56 00:02:15,604 --> 00:02:17,520 แล้วเรามีสามเหลี่ยมใหญ่อันเดิม 57 00:02:17,520 --> 00:02:19,890 และเราหวังว่าจะระบุความคล้าย 58 00:02:19,890 --> 00:02:21,980 ระหว่างสามเหลี่ยมเหล่านั้นได้ 59 00:02:21,980 --> 00:02:27,590 อย่างแรกผมจะแสดงให้คุณเห็นว่า ADC คล้ายกับรูปใหญ่ 60 00:02:27,590 --> 00:02:29,710 เพราะทั้งคู่มีมุมฉาก 61 00:02:29,710 --> 00:02:32,070 ADC มีมุมฉากตรงนี้ 62 00:02:32,070 --> 00:02:33,571 แน่นอน ถ้ามุมนี้เท่ากับ 90 องศา 63 00:02:33,571 --> 00:02:35,653 แล้วมุมนี้จะเท่ากับ 90 องศาเช่นกัน 64 00:02:35,653 --> 00:02:36,660 พวกมันประกอบกันเป็นสองมุมฉาก 65 00:02:36,660 --> 00:02:38,510 พวกมันต้องรวมกันได้ 180 66 00:02:38,510 --> 00:02:40,440 แล้วทั้งคู่มีมุมฉากในรูป 67 00:02:40,440 --> 00:02:42,060 รูปเล็กนี้มีมุมฉาก 68 00:02:42,060 --> 00:02:43,590 รูปใหญ่มีมุมฉากชัดเจน 69 00:02:43,590 --> 00:02:44,840 นั่นคือจุดเริ่มต้นของเรา 70 00:02:44,840 --> 00:02:48,690 และพวกมันยังมีมุมนี้ร่วมกันตรงนี้ 71 00:02:48,690 --> 00:02:52,150 มุม ADC หรือ BAC ไม่ว่า 72 00:02:52,150 --> 00:02:53,580 คุณจะเรียกว่าอะไร 73 00:02:53,580 --> 00:02:56,720 เราก็เขียนสามเหลี่ยมนั้นลงไปได้ 74 00:02:56,720 --> 00:03:00,290 ผมจะเริ่มด้วยรูปเล็ก ADC 75 00:03:00,290 --> 00:03:02,190 บางทีผมควรแรเงามันหน่อยตรงนี้ 76 00:03:02,190 --> 00:03:04,023 นี่ก็คือสามเหลี่ยมที่เรากำลังพูดถึง 77 00:03:04,023 --> 00:03:05,429 สามเหลี่ยม ADC 78 00:03:05,429 --> 00:03:07,470 และเราไปจากมุมสีฟ้า ไปยังมุมฉาก 79 00:03:07,470 --> 00:03:10,620 ไปยังมุมที่ไม่ได้กำกับ จากมุมมองของสามเหลี่ยม ADC 80 00:03:10,620 --> 00:03:13,860 มุมฉากนี้ไม่ใช้ได้กับมุมนั่นตรงนั้น 81 00:03:13,860 --> 00:03:15,820 มันใช้กับสามเหลี่ยมรูปใหญ่ 82 00:03:15,820 --> 00:03:24,820 เราก็บอกได้ว่าสามเหลี่ยม ADC คล้ายกับสามเหลี่ยม -- 83 00:03:24,820 --> 00:03:27,130 เหมือนเดิม คุณอยากเริ่มที่มุมสีฟ้า 84 00:03:27,130 --> 00:03:29,500 A แล้วเราไปยังมุมฉาก 85 00:03:29,500 --> 00:03:32,220 เราต้องไปยังมุมฉากเหมือนเดิม 86 00:03:32,220 --> 00:03:32,830 มันก็คือ ACB 87 00:03:32,830 --> 00:03:37,190 มันก็คือ ACB 88 00:03:37,190 --> 00:03:39,270 และเนื่องจากพวกมันคล้ายกัน เราก็ตั้ง 89 00:03:39,270 --> 00:03:42,220 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของด้านได้ 90 00:03:42,220 --> 00:03:44,705 ตัวอย่างเช่น เรารู้ว่าอัตราส่วนของด้านสมนัย 91 00:03:44,705 --> 00:03:47,080 จะ ตามหลักสามเหลี่ยมคล้ายแล้ว 92 00:03:47,080 --> 00:03:48,640 เรารู้ว่าอัตราส่วนของด้านที่สมนัยกัน 93 00:03:48,640 --> 00:03:49,890 จะมีค่าคงที่ 94 00:03:49,890 --> 00:03:54,100 เราก็หาอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุมฉากของ 95 00:03:54,100 --> 00:03:54,960 สามเหลี่ยมเล็กได้ 96 00:03:54,960 --> 00:03:57,350 ด้านตรงข้ามมุมฉากคือ AC 97 00:03:57,350 --> 00:04:00,710 AC ส่วนด้านตรงข้ามมุมฉากรูปใหญ่ ซึ่ง 98 00:04:00,710 --> 00:04:10,480 ก็คือ AB, AC ส่วน AB จะเท่ากับ AD 99 00:04:10,480 --> 00:04:14,180 คือขาข้างหนึ่ง AD 100 00:04:14,180 --> 00:04:16,959 เวลาแสดงให้ดู ผมเลือกจุดที่สมนัยกัน 101 00:04:16,959 --> 00:04:23,794 บนสามเหลี่ยมคล้ายทั้งสอง นี่คือ AD ส่วน AC 102 00:04:23,794 --> 00:04:25,960 คุณมองสามเหลี่ยมพวกนี้ ด้วยตัวเองและแสดงได้ว่า 103 00:04:25,960 --> 00:04:29,930 ดูสิ AD จุด AD อยู่ระหว่างมุมสีฟ้า 104 00:04:29,930 --> 00:04:31,410 กับมุมฉาก 105 00:04:31,410 --> 00:04:34,760 โทษที ด้าน AD อยู่ระหว่างมุมสีฟ้ากับมุมฉาก 106 00:04:34,760 --> 00:04:38,025 ด้าน AC อยู่ระหว่างมุมสีฟ้ากับมุมฉาก 107 00:04:38,025 --> 00:04:39,010 ของสามเหลี่ยมใหญ่ 108 00:04:39,010 --> 00:04:40,950 ทั้งคู่มาจากสามเหลี่ยมใหญ่ 109 00:04:40,950 --> 00:04:43,660 พวกนี้คือด้านที่สมนัยกันบนสามเหลี่ยมเล็ก 110 00:04:43,660 --> 00:04:46,990 และถ้ามองภาพแล้วงง 111 00:04:46,990 --> 00:04:50,199 ตราบใดที่เราเขียนประโยคความคล้ายถูกต้อง 112 00:04:50,199 --> 00:04:51,990 คุณจะหาจุดที่สมนัยกันได้เสมอ 113 00:04:51,990 --> 00:04:56,590 AC สมนัยกับ AB บนสามเหลี่ยมใหญ่ 114 00:04:56,590 --> 00:04:58,840 AD บนสามเหลี่ยมเล็กสมนัย 115 00:04:58,840 --> 00:05:02,330 กับ AC บนสามเหลี่ยมใหญ่ 116 00:05:02,330 --> 00:05:06,920 และเรารู้ว่า AC เราเขียนมันใหม่ได้เป็น a เล็ก 117 00:05:06,920 --> 00:05:10,860 AC คือ a เล็ก 118 00:05:10,860 --> 00:05:16,810 เราไม่มีชื่อกำกับให้ AD หรือ AB 119 00:05:16,810 --> 00:05:18,900 โทษที เรามีชื่อกำกับให้ AB 120 00:05:18,900 --> 00:05:20,590 มันคือ c ตรงนี้ 121 00:05:20,590 --> 00:05:23,790 เราไม่มีชื่อกำกับให้ AD 122 00:05:23,790 --> 00:05:26,840 AD ลองเรียกมันว่า d เล็ก 123 00:05:26,840 --> 00:05:30,400 d เล็กใช้กับส่วนนั่นตรงนั้น 124 00:05:30,400 --> 00:05:33,560 c ใช้กับด้านทั้งหมดตรงนั้น 125 00:05:33,560 --> 00:05:35,905 แล้วเราเรียกมันว่า DB ลองเรียกความยาวว่า e 126 00:05:35,905 --> 00:05:38,700 นั่นทำให้สิ่งต่าง ๆ ให้ง่ายขึ้นหน่อย 127 00:05:38,700 --> 00:05:41,760 AD เราจะเรียกว่า d 128 00:05:41,760 --> 00:05:43,850 และตอนนี้เราได้ a ส่วน c เท่ากับ d ส่วน a 129 00:05:43,850 --> 00:05:47,830 ถ้าเราคูณไขว้ คุณจะได้ a คูณ a คือ a กำลังสอง 130 00:05:47,830 --> 00:05:50,791 เท่ากับ c คูณ d ซึ่งก็คือ cd 131 00:05:50,791 --> 00:05:52,790 นั่นคือผลลัพธ์ที่น่าสนใจนิดหน่อย 132 00:05:52,790 --> 00:05:54,789 ลองดูว่าเราทำอะไรกับสามเหลี่ยมอีกรูปได้ 133 00:05:54,789 --> 00:05:55,930 ตรงนี้ 134 00:05:55,930 --> 00:05:57,940 สามเหลี่ยมนี่ตรงนี้ 135 00:05:57,940 --> 00:05:59,490 เหมือนเดิม มันมีมุมฉาก 136 00:05:59,490 --> 00:06:00,865 รูปใหญ่มีมุมฉาก 137 00:06:00,865 --> 00:06:04,270 และทั้งคู่มีมุมนี่ตรงนี้ร่วมกัน 138 00:06:04,270 --> 00:06:07,070 ด้วยความคล้ายแบบ มุม มุม สามเหลี่ยมสองรูป 139 00:06:07,070 --> 00:06:08,210 จะคล้ายกัน 140 00:06:08,210 --> 00:06:11,040 เราก็บอกได้ว่าสามเหลี่ยม BDC เราไปจากสีชมพู 141 00:06:11,040 --> 00:06:12,970 ไปยังมุมที่ไม่มีตัวกำกับ 142 00:06:12,970 --> 00:06:20,352 สามเหลี่ยม BDC คล้ายกับสามเหลี่ยม 143 00:06:20,352 --> 00:06:22,310 ตอนนี้เรากำลังดูสามเหลี่ยมใหญ่ 144 00:06:22,310 --> 00:06:23,430 เราจะเริ่มด้วยมุมสีชมพู 145 00:06:23,430 --> 00:06:25,567 B ตอนนี้เราไปยังมุมฉาก 146 00:06:25,567 --> 00:06:26,066 CA 147 00:06:26,066 --> 00:06:29,190 148 00:06:29,190 --> 00:06:31,680 BCA 149 00:06:31,680 --> 00:06:34,979 จากมุมสีชมพู ไปมุมฉาก ไปมุมไม่มีตัวกำกับ 150 00:06:34,979 --> 00:06:36,520 อย่างน้อยจากมุมมองตรงนี้ 151 00:06:36,520 --> 00:06:38,420 เรากำกับมันไว้ก่อนด้วยสีฟ้า 152 00:06:38,420 --> 00:06:40,620 ตอนนี้เราตั้งความสัมพันธ์บางอย่างได้ 153 00:06:40,620 --> 00:06:45,040 เราบอกได้ว่า อัตราส่วนของ สามเหลี่ยมรูปเล็ก BC 154 00:06:45,040 --> 00:06:50,130 ด้าน BC ส่วน BA, BC ส่วน BA เหมือนเดิม 155 00:06:50,130 --> 00:06:53,230 เราหาด้านตรงข้ามมุมฉากของทั้งคู่ 156 00:06:53,230 --> 00:07:00,593 BC ส่วน BA จะเท่ากับ BD 157 00:07:00,593 --> 00:07:02,590 ขอผมใช้อีกสีนะ 158 00:07:02,590 --> 00:07:03,450 BD 159 00:07:03,450 --> 00:07:04,890 นี่ก็คือขาข้างหนึ่ง 160 00:07:04,890 --> 00:07:05,570 BD 161 00:07:05,570 --> 00:07:07,430 วิธีที่ผมวาดมัน คือขาด้านสั้น 162 00:07:07,430 --> 00:07:10,370 BD ส่วน BC 163 00:07:10,370 --> 00:07:12,770 ผมก็แค่หาจุดยอดที่สมนัยกัน 164 00:07:12,770 --> 00:07:14,600 ส่วน BC 165 00:07:14,600 --> 00:07:18,203 และเหมือนเดิม เรารู้ว่า BC เท่ากับ b เล็ก 166 00:07:18,203 --> 00:07:20,322 BC คือ b เล็ก 167 00:07:20,322 --> 00:07:22,926 BA คือ c เล็ก 168 00:07:22,926 --> 00:07:25,570 169 00:07:25,570 --> 00:07:29,740 แล้ว BD เรานิยามว่าเป็น e เล็ก 170 00:07:29,740 --> 00:07:31,260 นี่ก็คือ e เล็ก 171 00:07:31,260 --> 00:07:33,210 เราคูณไขว้ตรงนี้ได้ แล้วเรา 172 00:07:33,210 --> 00:07:37,830 ได้ b คูณ b ซึ่งผมบอกไปก่อนหลายวิดีโอแล้ว 173 00:07:37,830 --> 00:07:40,310 ว่าการคูณไขว้จริง ๆ แล้วก็คือการคูณ 174 00:07:40,310 --> 00:07:42,680 ทั้งสองข้างด้วยตัวส่วนทั้งสอง 175 00:07:42,680 --> 00:07:47,960 b คูณ b เท่ากับ b กำลังสอง เท่ากับ ce 176 00:07:47,960 --> 00:07:50,010 และตอนนี้ เราทำสิ่งที่น่าสนใจได้ 177 00:07:50,010 --> 00:07:51,406 เราบวกสมการทั้งสองเข้าด้วยกันได้ 178 00:07:51,406 --> 00:07:53,030 ขอผมเขียนสมการข้างล่างนี้ใหม่ 179 00:07:53,030 --> 00:07:56,100 b กำลังสองเท่ากับ ce 180 00:07:56,100 --> 00:07:58,310 ถ้าเราบวกด้านซ้ายมือ 181 00:07:58,310 --> 00:08:02,120 เราจะได้ a กำลังสองบวก b กำลังสอง 182 00:08:02,120 --> 00:08:09,420 a กำลังสอง บวก b กำลังสอง เท่ากับ cd บวก ce 183 00:08:09,420 --> 00:08:12,595 184 00:08:12,595 --> 00:08:14,917 แล้วเรามี c ในทั้งสองเทอม 185 00:08:14,917 --> 00:08:16,000 เราก็แยกมันออกมาได้ 186 00:08:16,000 --> 00:08:19,880 นี่ก็จะเท่ากับ -- เราดึงตัวร่วม c ออกมาได้ 187 00:08:19,880 --> 00:08:22,952 มันจะเท่ากับ c คูณ d บวก e 188 00:08:22,952 --> 00:08:29,790 c คูณ d บวก e และปิดวงเล็บ 189 00:08:29,790 --> 00:08:31,460 d บวก e เป็นเท่าใด? 190 00:08:31,460 --> 00:08:34,159 d คือความยาวนี้ e คือความยาวนี้ 191 00:08:34,159 --> 00:08:37,169 ดังนั้น d บวก e จึงเท่ากับ c เช่นกัน 192 00:08:37,169 --> 00:08:38,496 ค่านี้จึงเท่ากับ c 193 00:08:38,496 --> 00:08:41,039 คุณจึงได้ c คูณ c ซึ่งเหมือนกับ 194 00:08:41,039 --> 00:08:43,030 c กำลังสอง 195 00:08:43,030 --> 00:08:45,700 ตอนนี้เรามีความสัมพันธ์ที่น่าสนใจแล้ว 196 00:08:45,700 --> 00:08:51,150 เรามี a กำลังสองบวก b กำลังสอง เท่ากับ c กำลังสอง 197 00:08:51,150 --> 00:08:52,580 ขอผมเขียนใหม่นะ 198 00:08:52,580 --> 00:08:54,300 a กำลังสอง 199 00:08:54,300 --> 00:08:58,623 ทีนี้ ขอผมใช้สีใหม่อะไรก็ได้ 200 00:08:58,623 --> 00:09:02,380 ผมลบไปโดยไม่ตั้งใจ ขอผมเขียนใหม่นะ 201 00:09:02,380 --> 00:09:07,390 เราเพิ่งสรุปได้ว่า a กำลังสองบวก b กำลังสอง 202 00:09:07,390 --> 00:09:09,400 เท่ากับ c กำลังสอง 203 00:09:09,400 --> 00:09:11,320 และนี่คือสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ 204 00:09:11,320 --> 00:09:13,590 มันเป็นจริงสำหรับสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ 205 00:09:13,590 --> 00:09:17,120 เราแค่ระบุไปว่า ผลบวกของกำลังสองของ 206 00:09:17,120 --> 00:09:20,060 ขาแต่ละด้านเท่ากับ กำลังสองของด้านตรงข้ามมุมฉาก 207 00:09:20,060 --> 00:09:22,550 และนี่อาจเป็นทฤษฎีบทที่ดังที่สุด 208 00:09:22,550 --> 00:09:26,220 อันหนึ่งในคณิตศาสตร์ ตั้งชื่อตาม 209 00:09:26,220 --> 00:09:27,360 พีทาโกรัส 210 00:09:27,360 --> 00:09:30,370 ไม่แน่ใจว่าเขาเป็นคนแรกที่ตั้งทฤษฏีนี้หรือเปล่า 211 00:09:30,370 --> 00:09:32,310 แต่มันเรียกว่าทฤษฎีบทพีทาโกรัส 212 00:09:32,310 --> 00:09:38,290 213 00:09:38,290 --> 00:09:41,469 และมันเป็นพื้นฐาน แม้ไม่ใช่แค่เรขาคณิตทั้งหมด 214 00:09:41,469 --> 00:09:43,510 แต่เป็นพื้นฐานเรขาคณิตจำนวนมาก ที่เราจะทำต่อไป 215 00:09:43,510 --> 00:09:45,880 และมันยังเป็นพื้นฐานให้วิชาตรีโกณมิติที่เรา 216 00:09:45,880 --> 00:09:46,230 จะทำต่อไป 217 00:09:46,230 --> 00:09:47,550 และมันมีประโยชน์จริง ๆ ถ้าคุณ 218 00:09:47,550 --> 00:09:49,299 รู้ด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก 219 00:09:49,299 --> 00:09:51,890 คุณก็หาด้านที่สามได้