1 00:00:01,333 --> 00:00:05,133 เทอร์โมมิเตอร์อันหนึ่งในแล็ปวิทยาศาสตร์ แสดงอุณหภูมิทั้งเซลเซียสและฟาเรนไฮต์ 2 00:00:05,133 --> 00:00:08,733 ถ้าปรอทในเทอร์โมมิเตอร์ขึนถึง 56 องศาฟาเรนไฮต์ 3 00:00:08,733 --> 00:00:13,344 อุณหภูมิองศาเซลเซียสที่ตรงกันเป็นเท่าใด? 4 00:00:14,267 --> 00:00:18,800 แล้าเขาให้สูตรเรามาสองสูตร -- ถ้าเรารู็ องศาเซลเซียส เราจะหาองศาฟาเรนไฮต์อย่างไร 5 00:00:18,800 --> 00:00:23,667 หรือถ้าเรารู้องศาฟาเรนไฮต์ เราจะหา องศาเซลเซียสได้อย่างไร 6 00:00:23,667 --> 00:00:27,667 และที่จริงแล้วสองสูตรนี้แปลงหากันได้ และ คุณจะได้เรียนในวิชาพีชคณิต 7 00:00:27,667 --> 00:00:32,133 และเรา -- บางทีวิดีโอหน้า -- เราจะอธิบาย วิธีการแปลงพวกมัน 8 00:00:32,133 --> 00:00:34,400 มันน่าสนใจดี แต่ต้องใช้พีชคณิตหน่อย. 9 00:00:34,400 --> 00:00:37,333 แต่เขาให้สูตรเรามาแล้ว เขาแค่อยากให้เราใช้ 10 00:00:37,333 --> 00:00:40,333 และตรวจสอบว่าเราเข้าใจว่า ต้องใช้สูตรไหนจริงหรือเปล่า. 11 00:00:40,333 --> 00:00:45,600 ทีนี้ เขาให้อุณหภูมิฟาเรนไฮต์ตรงนี้, F เท่ากับ 56. 12 00:00:45,600 --> 00:00:50,467 และเขาบอกให้เราหาอุณหภูมิเซลเซียส เราจึงต้องหาว่าอุณหภูมิเซลเซียสเป็นเท่าใด. 13 00:00:51,667 --> 00:00:55,333 ทีนี้ อันนี้ตรงนี้ ถ้าคุณรู้ อุณหภูมิฟาเรนไฮต์ 14 00:00:55,333 --> 00:00:57,333 คุณก็แก้หาอุณหภูมิเซลเซียสได้. 15 00:00:57,333 --> 00:00:58,733 ลองใช้อันนี้ ตรงนี้ดู. 16 00:00:58,733 --> 00:01:04,933 อุณหภูมิเซลเซียสของเราจะเป็น 5/9 คูณ อุณหภูมิฟาเรนไฮต์. 17 00:01:04,933 --> 00:01:11,267 -- อุณหภูมิฟาเรนไฮต์ เท่ากับ 56 องศา ฟาเรนไฮต์ -- ลบ 32. 18 00:01:13,452 --> 00:01:18,041 ทีนี้ 56 ลบ 32 ได้ 24, นี่จึงเท่ากับ 19 00:01:18,718 --> 00:01:24,975 5/9 คูณ 24, และนี่เท่ากับ 20 00:01:25,267 --> 00:01:29,400 5 คูณ 24, ส่วน 9. 21 00:01:29,400 --> 00:01:33,400 และก่อนจะคูณ 5 กับ 24 เราหาร 22 00:01:33,400 --> 00:01:37,267 ทั้งเศษและส่วนด้วย 3 ได้, ลองทำดู. 23 00:01:37,267 --> 00:01:41,267 ถ้าเราหารทั้งเศษและส่วนด้วย 3 ค่าจะไม่เปลี่ยน. 24 00:01:41,267 --> 00:01:45,600 24 หารด้วย 3 ได้ 8, 9 หารด้วย 3 ได้ 3. 25 00:01:45,600 --> 00:01:51,067 มันจึงเป็น 5 คูณ 8, ซึ่งเท่ากับ 40, ส่วน 3, องศา. 26 00:01:51,067 --> 00:01:56,067 และถ้าเราอยากเขียนเป็นจำนวนที่เข้าท่ากว่า 27 00:01:56,067 --> 00:02:01,867 ในรูปอุณหภูมิ ลองนำ 3 ไปหาร 40 ให้ได้ จำนวนองศา. 28 00:02:01,867 --> 00:02:09,467 3 ไปหาร 4 ได้หนึ่งครั้ง, เหลือเศษ 1, นำ 1 ลงมาและดึงศูนย์ลงมา. 29 00:02:09,467 --> 00:02:14,600 3 หาร 10 ได้สามครั้ง, เหลือเศษ 1, นำ 1 มาอีกที 30 00:02:14,600 --> 00:02:19,933 แล้วคุณดึงศูนย์ลงมาอีกตัว -- ตอนนี้เรา มีจุดทศนิยมตรงนี้. 31 00:02:19,933 --> 00:02:25,467 3 ไปหารสิบได้ 3 ครั้ง, งั้น 3 นี่จะซ้ำตลอดไป. 32 00:02:25,467 --> 00:02:30,333 คุณจึงบอกว่ามันเท่ากับ 13.333... -- 33 00:02:30,333 --> 00:02:34,667 มันไปต่อเรื่อยๆ เส้นตรงนี้หมายถึงซ้ำ -- องศาเซลเซียส. 34 00:02:34,667 --> 00:02:38,133 หรือ คุณบอกได้ว่า 3 ไปหาร 40 35 00:02:38,133 --> 00:02:42,467 ได้ 13 ครั้งเหลือเศษ 1 36 00:02:42,467 --> 00:02:47,800 คุณจึงบอกว่า มันเท่ากับ 13 เศษ 1 ก็ได้. 37 00:02:47,800 --> 00:02:51,467 ตอบ 13 กับเศษหนึ่งส่วนสาม องศาเซลเซียส. 38 00:02:51,467 --> 00:02:57,267 ไม่ว่าแบบไหนก็ถูก นั่นคือุณหภูมิเซลเซียส เมื่ออุณหภูมิฟาเรนไฮต์เป็น 56 องศา.