WEBVTT 00:00:00.000 --> 00:00:00.720 00:00:00.720 --> 00:00:03.926 เรามีสามเหลี่ยม ABC ตรงนี้ ซึ่งดูเหมือนสามเหลี่ยมมุมฉาก 00:00:03.926 --> 00:00:05.300 และเรารู้ว่ามันเป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก 00:00:05.300 --> 00:00:08.720 เพราะ 3 กำลังสองบวก 4 กำลังสอง เท่ากับ 5 กำลังสอง 00:00:08.720 --> 00:00:12.050 และเขาอยากให้เราหาว่าโคไซน์ของ 2 คูณมุม 00:00:12.050 --> 00:00:12.970 ABC เป็นเท่าใด 00:00:12.970 --> 00:00:16.620 นั่นคือมุมนี้ -- ABC 00:00:16.620 --> 00:00:18.850 เราหาค่าทันทีไม่ได้ 00:00:18.850 --> 00:00:22.400 แต่เรารู้ว่าโคไซน์ของมุม ABC เป็นเท่าใด 00:00:22.400 --> 00:00:27.810 เรารู้ว่าโคไซน์ของ ABC -- โคไซน์ 00:00:27.810 --> 00:00:29.680 คือชิดส่วนฉาก 00:00:29.680 --> 00:00:32.159 มันจะเท่ากับ 3/5 00:00:32.159 --> 00:00:39.700 เช่นเดียวกัน เรารู้ว่าไซน์ของมุม ABC เป็นเท่าใด 00:00:39.700 --> 00:00:41.530 มันคือข้ามส่วนฉาก 00:00:41.530 --> 00:00:43.310 นั่นคือ 4/5 00:00:43.310 --> 00:00:46.200 ถ้าเราแยกอันนี้ออกมาเป็นโคไซน์ของ ABC 00:00:46.200 --> 00:00:49.120 กับไซน์ของ ABC เราก็สามารถหาค่าได้ 00:00:49.120 --> 00:00:52.340 โชคดี เรามีเอกลักษณ์ตรีโกณฯ ในกล่องเครื่องมือ 00:00:52.340 --> 00:00:55.410 ที่หาค่าได้พอดี 00:00:55.410 --> 00:01:00.310 เรารู้ว่าโคไซน์ของ 2 คูณมุม 00:01:00.310 --> 00:01:03.390 เท่ากับโคไซน์ของมุมนั้นกำลังสอง 00:01:03.390 --> 00:01:05.560 ลบไซน์ของมุมนั้นกำลังสอง 00:01:05.560 --> 00:01:07.710 และเราได้พิสูจน์เรื่องนี้ไปในวิดีโออื่น 00:01:07.710 --> 00:01:10.040 แต่อันนี้มีประโยชน์มากสำหรับเราตรงนี้ 00:01:10.040 --> 00:01:13.545 เพราะตอนนี้เรารู้ว่าโคไซน์ -- 00:01:13.545 --> 00:01:15.560 ขอผมใช้อีกสีนะ 00:01:15.560 --> 00:01:21.460 ตอนนี้ เรารู้ว่าโคไซน์ของมุม ABC 00:01:21.460 --> 00:01:23.670 จะเท่ากับ -- โอ้ โทษที 00:01:23.670 --> 00:01:25.810 มันคือโคไซน์ของ 2 คูณมุม ABC 00:01:25.810 --> 00:01:27.360 นั่นคือสิ่งที่เราสนใจ 00:01:27.360 --> 00:01:30.310 2 คูณมุม ABC จะ 00:01:30.310 --> 00:01:40.480 เท่ากับโคไซน์ของมุม ABC กำลังสอง ลบไซน์ของมุม 00:01:40.480 --> 00:01:42.050 ABC กำลังสอง 00:01:42.050 --> 00:01:45.770 00:01:45.770 --> 00:01:47.740 และเรารู้ว่าพวกมันคืออะไร 00:01:47.740 --> 00:01:52.060 อันนี้ตรงนี้ก็แค่ 00:01:52.060 --> 00:01:55.470 เท่ากับ 3/5 กำลังสอง 00:01:55.470 --> 00:01:57.320 โคไซน์ของมุม ABC เท่ากับ 3/5 00:01:57.320 --> 00:01:58.640 เราจะกำลังสองมัน 00:01:58.640 --> 00:02:01.740 และอันนี้ตรงนี้ก็แค่ 4/5 กำลังสอง 00:02:01.740 --> 00:02:05.590 มันก็คือลบ 4/5 กำลังสอง 00:02:05.590 --> 00:02:14.120 แล้วอันนี้ลดรูปเหลือ 9/25 ลบ 16/25 00:02:14.120 --> 00:02:17.320 ซึ่งเท่ากับ 7/25 00:02:17.320 --> 00:02:21.515 00:02:21.515 --> 00:02:22.015 โทษที 00:02:22.015 --> 00:02:23.021 มันเป็นลบ 00:02:23.021 --> 00:02:24.020 ต้องระวังตรงนี้ 00:02:24.020 --> 00:02:27.010 16 มากกว่า 9 00:02:27.010 --> 00:02:29.299 ลบ 7/25 00:02:29.299 --> 00:02:30.840 ทีนี้ สิ่งหนึ่งที่อาจสะดุดตาคุณ 00:02:30.840 --> 00:02:33.370 คือว่า ทำไมฉันถึงได้ค่าลบตรงนี้ 00:02:33.370 --> 00:02:36.260 เวลาฉันเพิ่มมุมเป็นสองเท่า? 00:02:36.260 --> 00:02:38.852 เพราะโคไซน์เป็นบวกชัดเจน 00:02:38.852 --> 00:02:41.310 คุณต้องคิดถึงวงกลมหนึ่งหน่วย -- ซึ่ง 00:02:41.310 --> 00:02:45.910 เรารู้ว่านิยามวงกลมหนึ่งหน่วยของฟังก์ชันตรีโกณฯ 00:02:45.910 --> 00:02:49.080 เป็นการขยายนิยามแบบ SOH-CAH-TOA 00:02:49.080 --> 00:02:49.830 แกน x 00:02:49.830 --> 00:02:50.740 แกน y 00:02:50.740 --> 00:02:52.830 ขอผมวาดวงกลมหนึ่งหน่วยตรงนี้นะ 00:02:52.830 --> 00:02:54.430 พยายามที่สุดแล้ว 00:02:54.430 --> 00:02:57.340 นั่นคือวงกลมหนึ่งหน่วยของเรา 00:02:57.340 --> 00:03:01.775 มุมนี่ตรงนี้ดูเป็นแบบนี้ 00:03:01.775 --> 00:03:04.380 00:03:04.380 --> 00:03:06.610 แล้วคุณเห็นพิกัด x ของมัน -- 00:03:06.610 --> 00:03:08.940 ซึ่งก็คือโคไซน์ของมุมนั้น -- ดูเป็นบวก 00:03:08.940 --> 00:03:11.640 แต่แล้ว ถ้าคุณเพิ่มมุมนี้เป็นสองเท่า 00:03:11.640 --> 00:03:15.965 มันจะไปยังสักแห่งตรงนี้ 00:03:15.965 --> 00:03:18.090 แล้ว คุณเห็นว่า -- ตามนิยามวงกลมหนึ่งหน่วย -- 00:03:18.090 --> 00:03:21.850 พิกัด x ตอนนี้เราอยู่ในจตุภาคที่สองแล้ว 00:03:21.850 --> 00:03:23.520 และพิกัด x เป็นลบได้ 00:03:23.520 --> 00:03:26.667 และนั่นก็คือสิ่งที่เกิดขึ้นในปัญหานี้ 00:03:26.667 --> 00:03:27.167