WEBVTT 00:00:00.000 --> 00:00:00.660 - 00:00:00.660 --> 00:00:02.480 มันไม่แย่ที่จะฝึกอีก 00:00:02.480 --> 00:00:05.550 นี่คือโจทย์ข้อ 5 จากเรื่องการกระจายตัวแบบปกติ 00:00:05.550 --> 00:00:11.350 ในเฟลกซ์บุ๊คของวิชาสถิติ AP ของ ck12.org 00:00:11.350 --> 00:00:15.960 เขาบอกว่าคะแนนสอบสถิติ AP ปี 2007 00:00:15.960 --> 00:00:20.920 ไม่ได้กระจายตัวแบบปกติ มันมีค่าเฉลี่ย 2.8 และ 00:00:20.920 --> 00:00:24.010 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 1.34 00:00:24.010 --> 00:00:25.510 เขาอ้างอิงจากคอลเลจ บอร์ดตรงนี้ 00:00:25.510 --> 00:00:27.110 ผมไม่ได้ลอกและวางตรงนี้ 00:00:27.110 --> 00:00:29.050 แล้วค่าคะแนน z มีค่าประมาณเท่าไหร่? 00:00:29.050 --> 00:00:32.360 จำไว้, คะแนน z คือจำนวนเท่าของส่วนเบี่ยงบนมาตรฐาน 00:00:32.360 --> 00:00:33.780 ที่คุณห่างจากค่าเฉลี่ย 00:00:33.780 --> 00:00:36.570 แล้วคะแนน z โดยประมาณที่ตรงกับ 00:00:36.570 --> 00:00:39.410 คะแนนสอบ 5 คะแนนเป็นเท่าไหร่? 00:00:39.410 --> 00:00:41.410 เราก็ต้องหาว่า -- นี่ 00:00:41.410 --> 00:00:43.790 เป็นโจทย์ที่ตรงไปตรงมา -- เราต้องหาว่า 5 ห่างจากค่าเฉลี่ย 00:00:43.790 --> 00:00:48.260 ไปกี่เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน? 00:00:48.260 --> 00:00:53.220 ตรงนี้, คุณก็เอา 5 ลบ 2.8, จริงไหม? 00:00:53.220 --> 00:00:54.370 ค่าเฉลี่ยเป็ฯ 2.8 00:00:54.370 --> 00:00:55.200 ขอผมบอกให้ชัดนะ 00:00:55.200 --> 00:00:56.160 ค่าเฉลี่ยเป็น 2.8 00:00:56.160 --> 00:00:56.820 เขาบอกเรามาอย่างนั้น 00:00:56.820 --> 00:00:58.555 เราไม่ต้องคำนวณมัน, จริงไหม? 00:00:58.555 --> 00:01:03.670 ค่าเฉลี่ยเป็น 2.8, แล้ว 5 ลบ 2.8 เท่ากับ 2.2 00:01:03.670 --> 00:01:07.320 แล้วเราได้มากกว่าค่าเฉลี่ย 2.2 และถ้าเราอยากได้มัน 00:01:07.320 --> 00:01:09.620 ในรูปของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, เราก็หารมันด้วย 00:01:09.620 --> 00:01:10.740 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 00:01:10.740 --> 00:01:14.850 หารด้วย 1.34 00:01:14.850 --> 00:01:17.230 หารด้วย 1.34 00:01:17.230 --> 00:01:20.630 ผมจะเอาเครื่องคิดเลขออกมานะ 00:01:20.630 --> 00:01:30.950 เราได้ 2.2 หารด้วย 1.34 เท่ากับ 1.64 00:01:30.950 --> 00:01:35.940 นี่เท่ากับ 1.64, มันคือตัวเลือก c 00:01:35.940 --> 00:01:37.550 นี่ก็ตรงไปตรงมาดี 00:01:37.550 --> 00:01:40.800 เราแค่ต้องดูว่ามันห่างจากค่าเฉลี่ยแค่ไหน ถ้าเรามี 00:01:40.800 --> 00:01:43.830 คะแนนเท่ากับ 5, ซึ่งหวังว่าคุณจะได้แบบนี้ ถ้าคุณสอบ 00:01:43.830 --> 00:01:46.895 วิชาสถิติ AP หลังจากดูวิดีโอพวกนี้, แล้ว 00:01:46.895 --> 00:01:48.750 คุณหารด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อบอกว่า ค่าเฉลี่ยห่างจาก 00:01:48.750 --> 00:01:52.060 5 ไปกี่เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 00:01:52.060 --> 00:01:53.680 มันคือ 1.64 00:01:53.680 --> 00:01:55.710 ผมว่าสิ่งที่ต้องระวังตรงนี้ คือว่า -- คุณ 00:01:55.710 --> 00:01:58.720 อาจอยากเลือก e, ซึ่งบอกว่า 00:01:58.720 --> 00:02:00.870 เราคำนวณคะแนน z ไม่ได้ เพราะการกระจายตัว 00:02:00.870 --> 00:02:01.750 ไม่ใช่แบบปกติ 00:02:01.750 --> 00:02:04.660 ผมว่าสาเหตุที่คุณอยากเลือกข้อนั้น 00:02:04.660 --> 00:02:08.350 เพราะเราใช้คะแนน z ในบริบท 00:02:08.350 --> 00:02:10.160 ของการกระจายตัวแบบปกติ 00:02:10.160 --> 00:02:13.210 แต่คะแนน z จริงๆ หมายถึงจำนวนเท่าของค่าเบี่ยงเบน 00:02:13.210 --> 00:02:15.910 มาตรฐาน ที่คุณห่างจากค่าเฉลี่ย 00:02:15.910 --> 00:02:18.720 มันใช้ได้กับการกระจายตัวใดๆ ที่คุณ 00:02:18.720 --> 00:02:21.720 คิดค่าเฉลี่ยกับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ 00:02:21.720 --> 00:02:23.760 e จึงไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้อง 00:02:23.760 --> 00:02:27.320 คะแนน z สามารถใช้ได้กับการกระจายตัวที่ไม่ปกติ, ดังนั้น 00:02:27.320 --> 00:02:29.980 คำตอบคือ c, แผละมว่ามันด๊ที่ได้ 00:02:29.980 --> 00:02:31.580 พูดถึงเรื่องนี้ให้ชัด 00:02:31.580 --> 00:02:33.370 ผมว่าผมทำโจทย์สองข้อได้, เพราะ 00:02:33.370 --> 00:02:35.330 อันนั้นมันสั้นทีเดียว 00:02:35.330 --> 00:02:38.580 โจทย์ข้อ 6: ความสูงของนักเรียนชายชั้นเกรด 5 00:02:38.580 --> 00:02:40.680 ในอเมริกาประมาณได้ว่ากระจายตัว 00:02:40.680 --> 00:02:44.140 แบบปกติ -- รู้ไว้ก็ดีนะ -- ความสูงเฉลี่ยเป็น 00:02:44.140 --> 00:02:53.330 143.5, ค่าเฉลี่ยของมันคือ 143.5 เซนติเมตร, ค่าเบี่ยงเบน 00:02:53.330 --> 00:02:56.980 มาตรฐาน ประมาณ 7.1 เซนติเมตร 00:02:56.980 --> 00:03:01.570 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 7.1 เซนติเมตร 00:03:01.570 --> 00:03:04.360 ความน่าจะเป็นที่เราเลือกเด็กชายชั้นเกรด 5 อย่างสุ่ม 00:03:04.360 --> 00:03:08.850 ได้สูงกว่า 157.7 เซนติเมตรเป็นเท่าไหร่? 00:03:08.850 --> 00:03:11.740 ลองวาดความน่าจะเป็นแบบที่เราทำ 00:03:11.740 --> 00:03:14.180 ในโจทย์ก่อนๆ กัน 00:03:14.180 --> 00:03:17.550 เขาถามเราแค่คำถามเดียว, คุณเลยเขียน 00:03:17.550 --> 00:03:19.430 อะไรลงไปในการกระจายตัวนี้ได้เยอะหน่อย 00:03:19.430 --> 00:03:21.720 สมมุติว่านั่นคือการกระจายตัวของเรา -- และ 00:03:21.720 --> 00:03:28.220 ค่าเฉลี่ยตรงนี้, ค่าเฉลี่ยที่เขาบอกเราคือ 143.5 00:03:28.220 --> 00:03:31.106 เขาถามเราถึงค่าสูงกว่า 157.7, งั้นเราขึ้น 00:03:31.106 --> 00:03:31.990 ไปข้างบน 00:03:31.990 --> 00:03:36.950 มากกว่าค่าเฉลี่ย 1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มันจะพาเรา 00:03:36.950 --> 00:03:40.460 มาตรงนี้, และเราต้องบวก 7.1 เข้าไปกับเลขนี่ตรงนี้ 00:03:40.460 --> 00:03:42.560 เราจะขึ้นไป 7.1 00:03:42.560 --> 00:03:45.940 ได้ 143.5 บวก 7.1 ได้อะไร? 00:03:45.940 --> 00:03:49.410 150.6 00:03:49.410 --> 00:03:51.040 นั่นคือ 1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 00:03:51.040 --> 00:03:52.750 ถ้าเราไปอีก 1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, 00:03:52.750 --> 00:03:54.910 เราะจะได้อีก 7.1 00:03:54.910 --> 00:03:57.480 แล้ว 7.1 บวก 150.6 ได้อะไร? 00:03:57.480 --> 00:04:03.430 มันคือ 157.7, ซึ่งก็คือเลขที่เขา 00:04:03.430 --> 00:04:04.200 ถามเราพอดี 00:04:04.200 --> 00:04:06.440 เขาถามหาความสูง, ความน่าจะเป็นที่ 00:04:06.440 --> 00:04:08.580 ได้ความสูงมากกว่าค่านั้น 00:04:08.580 --> 00:04:11.460 แล้วเขาอยากรู้ว่าความน่าจะเป็นที่เราตกอยู่ใน 00:04:11.460 --> 00:04:14.300 พื้นที่นี่ตรงนี้, หรือก็คือ มากกว่า 2 00:04:14.300 --> 00:04:17.700 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานวัดจากค่าเฉลี่ย, หรือมากกว่า 00:04:17.700 --> 00:04:18.630 2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 00:04:18.630 --> 00:04:20.975 เรานับหางทางซ้ายนี่ไม่ได้ 00:04:20.975 --> 00:04:23.220 เราสามารถใช้กฎเชิงประจักษ์ได้ 00:04:23.220 --> 00:04:24.320 เราสามารถใช้กฎเชิงประจักษ์ได้ 00:04:24.320 --> 00:04:26.660 ถ้าเราใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ไปทางซ้าย 00:04:26.660 --> 00:04:29.740 นั่นคือ 1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, 2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 00:04:29.740 --> 00:04:31.860 เรารู้ว่าพื้นที่ทั้งหมดเป็นเท่าไหร่ 00:04:31.860 --> 00:04:35.530 ขอผมใช้อีกสีนะ 00:04:35.530 --> 00:04:39.730 เราก็รู้ว่าพื้นที่นี้, พื้นที่ภายในช่วง 2 00:04:39.730 --> 00:04:40.445 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 00:04:40.445 --> 00:04:41.980 กฎเชิงประจักษ์จะบอกเรา 00:04:41.980 --> 00:04:48.340 หรือดีกว่านั้น, กฎ 68-95-97.5 บอกเราว่าพื้นที่นี้, 00:04:48.340 --> 00:04:54.390 เนื่องจากมันอยู่ในช่วง 2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, มันคือ 95% หรือ 00:04:54.390 --> 00:04:59.570 0.95, หรือมันคือ 95% ของพื้นที่ใต้การกระจายตัวแบบปกติ, 00:04:59.570 --> 00:05:02.820 ซึ่งบอกเราว่าที่เหลือตรงนี้, หางนี้ที่เรา 00:05:02.820 --> 00:05:05.390 สนใจ และหางนี่ตรงนี้, ต้องรวม 00:05:05.390 --> 00:05:08.200 กันได้ส่วนที่เหลือ, หรือ 5% 00:05:08.200 --> 00:05:13.520 ดังนั้น สองอันนี้รวมกันต้องได้ 5% และพวกนี้สมมาตรกัน 00:05:13.520 --> 00:05:14.460 เราทำนี่มาก่อนแล้ว 00:05:14.460 --> 00:05:15.950 ที่จริง มันซ้ำกับโจทย์ที่เรา 00:05:15.950 --> 00:05:17.110 เคยทำมา 00:05:17.110 --> 00:05:20.250 แต่ถ้าพวกนี้รวมกันได้ 5% แล้วเขาบอกว่าแต่ละอัน 00:05:20.250 --> 00:05:22.520 จะเป็น 2 ครึ่ง เปอร์เซ็นต์ 00:05:22.520 --> 00:05:24.880 แต่ละอันมี 2 ครึ่งเปอร์เซ็นต์ 00:05:24.880 --> 00:05:27.400 แล้วเพื่อตอบคำถามนี้, ความน่าจะเป็นที่เราเลือกเด็กชาย 00:05:27.400 --> 00:05:31.800 ชั้นเกรด 5 อย่างสุ่ม แล้วได้ความสูง มากกว่า 157.7 00:05:31.800 --> 00:05:34.550 เซนติเมตรเป็นเท่าไหร่, มันก็คือพื้นที่เใต้เส้นโค้ง 00:05:34.550 --> 00:05:36.170 ส่วนสีเขียวนี่ 00:05:36.170 --> 00:05:37.450 บางทีผมจะใช้อีกสีนึง 00:05:37.450 --> 00:05:39.820 ส่วนสีบานเย็นที่ผมระบายตรงนี้, นั่นคือ 00:05:39.820 --> 00:05:43.480 พื้นที่นั่น, เราหาได้ว่ามันคือ 2.5% 00:05:43.480 --> 00:05:46.810 มันมีโอกาส 2 เปอร์เซ็นต์ครึ่ง ที่เราจะสุ่ม 00:05:46.810 --> 00:05:51.190 เจอเด็กชายชั้นเกรด 5 ที่สูงกว่า 157.7 เซนติเมตร 00:05:51.190 --> 00:05:54.030 หากถือว่านี่คือค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, และเรา 00:05:54.030 --> 00:05:56.370 ใช้การกระจายตัวแบบปกติ 00:05:56.370 --> 00:05:56.622 -