WEBVTT 00:00:12.923 --> 00:00:14.665 ไมเคิล จอร์แดนเคยกล่าวว่า 00:00:14.665 --> 00:00:16.478 "ผมไม่รู้หรอกว่าผมบินได้หรือไม่ 00:00:16.478 --> 00:00:18.870 แต่ผมรู้เมื่อผมลอยอยู่กลางอากาศ 00:00:18.870 --> 00:00:21.736 บางครั้งผมรู้สึกราวกับว่า จะไม่ได้กลับลงมาอีก" 00:00:21.736 --> 00:00:23.302 แต่ต้องขอบคุณไอแซค นิวตัน 00:00:23.302 --> 00:00:27.091 ที่ทำให้เราได้รู้ว่าอะไรก็ตามที่ลอยขึ้นไป จะต้องกลับลงมาในที่สุด 00:00:27.091 --> 00:00:31.762 ที่จริง คนเรามีข้อจำกัด บนพื้นราบในเรื่องระยะลอยตัว 00:00:31.762 --> 00:00:36.379 หรือเวลาที่เท้าของคุณลอยออกจาก พื้นจนถึงเมื่อพวกมันลงมาแตะพื้นอีกครั้ง 00:00:36.379 --> 00:00:38.654 เพียงแค่ราวหนึ่งวินาทีเท่านั้น 00:00:38.654 --> 00:00:41.583 และใช่ นั่นรวมถึง ภาวะกลางอากาศของเขา 00:00:41.583 --> 00:00:44.436 การลอยตัวยัดห่วงอันไร้เทียมทาน จากเส้นโยนโทษ 00:00:44.436 --> 00:00:48.517 คำนวนได้ 0.92 วินาที 00:00:48.517 --> 00:00:53.658 และแน่นอนแรงดึงดูดนั้นทำให้ยาก ที่จะลอยอยู่ในอากาศได้นาน 00:00:53.658 --> 00:00:58.506 แรงดึงดูดของโลกดึงวัตถุใกล้เคียง ลงมายังพื้นผิวโลก 00:00:58.506 --> 00:01:03.418 เร่งความเร็วของมัน ที่ 9.8 เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง 00:01:03.418 --> 00:01:08.882 ทันทีที่คุณโดด แรงดึงดูดก็ดึงคุณกลับลงมาแล้ว 00:01:08.882 --> 00:01:10.777 ใช้สิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับแรงดึงดูด 00:01:10.777 --> 00:01:15.296 เราจะได้มาซึ่งสูตรคำนวณคร่าว ๆ ที่สร้างแบบจำลองให้กับระยะลอยตัว 00:01:15.296 --> 00:01:19.735 สูตรนี้บอกเราว่า ความสูง ของวัตถุที่ตกเหนือพื้นผิว 00:01:19.735 --> 00:01:25.185 เท่ากับความสูงตั้งต้นของวัตถุ จากพื้นบวกด้วยความเร็วตั้งต้น 00:01:25.185 --> 00:01:28.685 คูณด้วยจำนวนวินาที ที่ลอยอยู่บนอากาศ 00:01:28.685 --> 00:01:31.664 บวกด้วยครึ่งหนึ่ง ของความเร่งจากแรงดึงดูดของโลก 00:01:31.664 --> 00:01:37.026 คูณด้วยจำนวนวินาที ที่ลอยในอากาศยกกำลังสอง 00:01:37.026 --> 00:01:41.102 แล้วเราก็จะใช้สูตรนี้ช่วยจำลอง การยัดห่วงจากเส้นโยนโทษของไมเคิล 00:01:41.102 --> 00:01:45.250 ให้เอ็มเจเริ่ม เช่นเดียวกับคนอื่น ที่ศูนย์เมตรจากพื้น 00:01:45.250 --> 00:01:51.508 และกระโดดด้วยความเร็วแนวดิ่งเริ่มต้น ที่ 4.51 เมตรต่อวินาที 00:01:51.508 --> 00:01:55.393 มาดูกันว่าอะไรจะเกิดขึ้นถ้าเราจำลอง สูตรนี้บนตารางพิกัด 00:01:55.393 --> 00:01:57.388 เนื่องจากสูตรเป็นสมการสองชั้น 00:01:57.388 --> 00:02:00.820 ความสัมพันธ์ระหว่างความสูง และเวลาที่ใช้ในอากาศ 00:02:00.820 --> 00:02:03.290 มีรูปทรงแบบพาราโบลา (เส้นโค้งเรขาคณิต) 00:02:03.290 --> 00:02:05.830 แล้วมันบอกอะไรเรา เกี่ยวกับการยัดห่วงของเอ็มเจล่ะ? 00:02:05.830 --> 00:02:10.366 จุดยอดของพาราโบรานั้นแสดงให้เราเห็นว่า จุดสูงสุดของเขาจากพื้น 00:02:10.366 --> 00:02:13.759 อยู่ที่ 1.038 เมตร 00:02:13.759 --> 00:02:16.752 และจุดตัดแกน x บอกเราว่า เมื่อเขาลอยตัวขึ้น 00:02:16.752 --> 00:02:22.470 และเมื่อเขาลงพื้น เป็นเวลาที่เขาใช้ลอยตัว 00:02:22.470 --> 00:02:25.034 มันดูเหมือนว่าแรงดึงดูดของโลก จะทำให้ยากลำบาก 00:02:25.034 --> 00:02:28.213 ซึ่งแม้แต่เอ็มเจยังยาก ที่จะอยู่กลางอากาศได้นาน 00:02:28.213 --> 00:02:33.126 แต่จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเขาไปเล่นเกมเยือน ที่ไหนซักแห่ง ที่ไกลออกไป? 00:02:33.126 --> 00:02:37.973 แรงโน้มถ่วงบนดาวเพื่อนบ้าน ที่ใกล้เคียงกับเราที่สุด ดาวศุกร์ 00:02:37.973 --> 00:02:43.822 คือ 8.87 เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง ค่อนข้างใกล้เคียงกับของโลก 00:02:43.822 --> 00:02:47.829 ถ้าไมเคิลกระโดดที่นี่ด้วยแรงเท่ากัน กับที่เขาทำบนโลก 00:02:47.829 --> 00:02:51.140 เขาจะสามารถกระโดดได้ สูงกว่าจากพื้นดิน 00:02:51.140 --> 00:02:55.972 ทำให้เขามีเวลาค้างกลางอากาศ ได้นานกว่าหนึ่งวินาทีเล็กน้อย 00:02:55.972 --> 00:02:59.070 การแข่งขันกันบนดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีแรงดึงดูด 00:02:59.070 --> 00:03:04.829 24.92 เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง ย่อมต้องสนุกสนานน้อยกว่า 00:03:04.829 --> 00:03:08.781 ที่นี่ ไมเคิลจะไม่สามารถแม้กระทั่ง จะโดดได้สูงซักครึ่งเมตรจากพื้นดิน 00:03:08.781 --> 00:03:13.309 และจะอยู่ค้างกลางอากาศ ได้เพียง 0.41 วินาทีเท่านั้น 00:03:13.309 --> 00:03:16.649 แต่เกมบนดวงจันทร์ จะค่อนข้างน่าดื่นเต้น 00:03:16.649 --> 00:03:19.526 เอ็มเจสามารถจะลอยตัวจากครึ่งสนามอีกฟาก 00:03:19.526 --> 00:03:22.097 โดดสูงกว่าหกเมตร 00:03:22.097 --> 00:03:25.413 และการค้างกลางอากาศของเขา นานกว่าห้าวินาทีครึ่ง 00:03:25.413 --> 00:03:29.489 จะนานพอที่ใครบางคน จะเชื่อว่าเขาสามารถบินได้จริง ๆ