1 00:00:00,000 --> 00:00:00,620 2 00:00:00,620 --> 00:00:02,975 ลองทำตัวอย่างการหารสังเคราะห์อีกอันกัน 3 00:00:02,975 --> 00:00:04,670 และในอีกวิดีโอหนึ่ง เราจะ 4 00:00:04,670 --> 00:00:08,310 พูดถึงว่าทำไมมันจึงใช้ได้เทียบกับ การหารยาวแบบพีชคณิต 5 00:00:08,310 --> 00:00:10,040 ตรงนี้ มันก็แค่ 6 00:00:10,040 --> 00:00:11,460 ลองทำกระบวนการไป 7 00:00:11,460 --> 00:00:13,450 คุณจะได้รู้สึกคุ้นเคยกับมัน 8 00:00:13,450 --> 00:00:16,770 และตอนนี้เป็นโอกาสดีที่เราจะได้ลอง 9 00:00:16,770 --> 00:00:21,200 ฝึกเขียนพจน์ตรรกยะนี้ในรูปอย่างง่าย 10 00:00:21,200 --> 00:00:23,370 ลองคิดไปทีละขั้นกัน 11 00:00:23,370 --> 00:00:24,910 อย่างแรกที่ผมอยากทำคือ 12 00:00:24,910 --> 00:00:28,190 เขียนสัมประสิทธิ์ทั้งหมดของตัวเศษ 13 00:00:28,190 --> 00:00:31,910 ผมมี 2 14 00:00:31,910 --> 00:00:33,480 โอ้ ผมต้องระวังตรงนี้ 15 00:00:33,480 --> 00:00:35,870 เพราะ 2 คือสัมประสิทธิ์สำหรับ x กำลังห้า 16 00:00:35,870 --> 00:00:37,860 ผมไม่มีเทอม x กำลังสี่ 17 00:00:37,860 --> 00:00:41,350 18 00:00:41,350 --> 00:00:42,120 ขอผมเริ่มใหม่นะ 19 00:00:42,120 --> 00:00:45,500 ผมมี 2 จาก 2x กำลังห้า 20 00:00:45,500 --> 00:00:47,010 แล้วผมไม่มี x กำลังสี่ 21 00:00:47,010 --> 00:00:48,910 จริงๆ มันคือ 0x กำลังสี่ 22 00:00:48,910 --> 00:00:51,090 ผมจะใส่ 0 เป็นสัมประสิทธิ์ 23 00:00:51,090 --> 00:00:52,910 ของเทอม x กำลังสี่นะ 24 00:00:52,910 --> 00:00:56,540 แล้วผมมีลบ 1 คูณ x กำลังสาม 25 00:00:56,540 --> 00:00:58,965 แล้วผมมีบวก 3 คูณ x กำลังสอง 26 00:00:58,965 --> 00:01:01,690 27 00:01:01,690 --> 00:01:03,320 ลบ 2 คูณ x 28 00:01:03,320 --> 00:01:06,800 29 00:01:06,800 --> 00:01:10,410 แล้วผมมีเทอมคงที่ หรือเทอมดีกรีศูนย์ของ 7 30 00:01:10,410 --> 00:01:12,920 ผมแค่มีบวก 7 31 00:01:12,920 --> 00:01:17,360 และตอนนี้ผมขอวาดสัญลักษณ์การหาร 32 00:01:17,360 --> 00:01:19,870 สังเคราะห์เท่ๆ ตรงนี้นะ 33 00:01:19,870 --> 00:01:23,040 นึกดู ประเภทของการหารสังเคราะห์ที่เราทำ 34 00:01:23,040 --> 00:01:27,030 มันใช้ได้เมื่อเราหารด้วย x บวกหรือลบ 35 00:01:27,030 --> 00:01:28,190 อะไรสักอย่าง 36 00:01:28,190 --> 00:01:29,720 คุณต้องทำต่างออกไปเล็กน้อย 37 00:01:29,720 --> 00:01:33,840 ถ้ามันเป็น 3x หรือถ้ามันเป็นลบ 1x 38 00:01:33,840 --> 00:01:35,740 หรือถ้ามันเป็น 5x กำลังสอง 39 00:01:35,740 --> 00:01:39,250 อันนี้ใช้ได้ก็ต่อเมื่อเรามี x บวกหรือลบอะไรสักอย่าง 40 00:01:39,250 --> 00:01:42,200 ในกรณีนี้ เรามี x ลบ 3 41 00:01:42,200 --> 00:01:44,150 เราจึงได้ลบ 3 ตรงนี้ 42 00:01:44,150 --> 00:01:47,496 43 00:01:47,496 --> 00:01:48,870 และกระบวนการที่เราแสดง -- 44 00:01:48,870 --> 00:01:51,950 มันมีวิธีทำอย่างอื่น -- คุณนำค่าลบของตัวนี้มา 45 00:01:51,950 --> 00:01:56,640 ลบของลบ 3 คือบวก 3 46 00:01:56,640 --> 00:02:00,200 และตอนนี้เราพร้อมทำการหารสังเคราะห์แล้ว 47 00:02:00,200 --> 00:02:05,950 เราจะนำ 2 นี่ลงมาแล้วคูณ 48 00:02:05,950 --> 00:02:07,780 2 เข้ากับ 3 49 00:02:07,780 --> 00:02:11,900 2 คูณ 3 ได้ 6 50 00:02:11,900 --> 00:02:15,680 0 บวก 6 ได้ 6 51 00:02:15,680 --> 00:02:21,520 แล้วเราคูณมันด้วย 3 และเราได้บวก 18 52 00:02:21,520 --> 00:02:28,300 ลบ 1 บวก 18 ได้ 17 53 00:02:28,300 --> 00:02:32,226 คูณค่านั้นด้วย 3 54 00:02:32,226 --> 00:02:37,690 17 คูณ 3 เป็น 51 55 00:02:37,690 --> 00:02:40,350 3 บวก 51 ได้ 54 56 00:02:40,350 --> 00:02:43,210 57 00:02:43,210 --> 00:02:44,700 คูณค่านั้นด้วย 3 58 00:02:44,700 --> 00:02:46,556 จำนวนนี้โตขึ้นแล้ว 59 00:02:46,556 --> 00:02:47,680 ค่านั้นจะเท่ากับอะไร? 60 00:02:47,680 --> 00:02:49,562 50 คูณ 3 เป็น 150 61 00:02:49,562 --> 00:02:51,440 4 คูณ 3 ได้ 12 62 00:02:51,440 --> 00:02:55,020 ค่านี้จึงเท่ากับ 162 63 00:02:55,020 --> 00:03:02,200 ลบ 2 บวก 162 เป็น 160 64 00:03:02,200 --> 00:03:08,890 แล้วสุดท้าย 160 คูณ 3 จะเท่ากับ 480 65 00:03:08,890 --> 00:03:15,330 แล้วคุณบวก 480 กับ 7 คุณจะได้ 487 66 00:03:15,330 --> 00:03:19,650 และคุณคิดดูได้ ผมมีแค่ เทอมเดียวหรือจำนวนเดียว 67 00:03:19,650 --> 00:03:22,060 ทางซ้ายมือของแถบนี่ตรงนี้ 68 00:03:22,060 --> 00:03:25,050 หรือผมจะทำการหารแบบที่เขียน x บวกหรือลบ 69 00:03:25,050 --> 00:03:29,660 อะไรสักอย่างตามเดิมก็ได้ 70 00:03:29,660 --> 00:03:31,810 ผมแยกอันนี้ออกมาได้ และตอนนี้ผม 71 00:03:31,810 --> 00:03:33,380 ได้คำตอบแล้ว 72 00:03:33,380 --> 00:03:36,089 มันดูเหมือนมนตร์ดำ มันก็คือมนตร์ดำ 73 00:03:36,089 --> 00:03:37,630 และนั่นคือสาเหตุที่ผมไม่ชอบทำวิธีนั้น 74 00:03:37,630 --> 00:03:39,764 เพราะคุณแค่ต้องท่องขั้้นตอนวิธี 75 00:03:39,764 --> 00:03:41,680 แต่มันมีวิดีโอที่เราจะอธิบายสาเหตุ 76 00:03:41,680 --> 00:03:43,660 และมันมักป็นวิธีที่เร็ว สะดวก 77 00:03:43,660 --> 00:03:46,820 และประหยัดกระดาษ อย่างที่คุณเห็นตรงนี้ 78 00:03:46,820 --> 00:03:48,520 แล้วเราก็ได้คำตอบสุดท้าย 79 00:03:48,520 --> 00:03:51,560 มันจะเท่ากับ -- ขอผมทำย้อนกลับนะ 80 00:03:51,560 --> 00:03:53,270 ผมจะเริ่มด้วยเศษก่อน 81 00:03:53,270 --> 00:03:57,170 เศษของเราคือ 487 82 00:03:57,170 --> 00:04:00,300 มันจะเท่ากับ 487 ส่วน x ลบ 3 83 00:04:00,300 --> 00:04:04,950 84 00:04:04,950 --> 00:04:06,970 แล้วนี่คือเทอมคงที่ของเรา 85 00:04:06,970 --> 00:04:13,540 และคุณจะได้บวก 160 บวก 487 ส่วน x ลบ 3 86 00:04:13,540 --> 00:04:15,250 ทีนี้นี่คือเทอม x ของเรา 87 00:04:15,250 --> 00:04:19,730 มันจะเท่ากับ 54x บวกทั้งหมดนี้ 88 00:04:19,730 --> 00:04:21,930 นี่จะเป็นเทอม x กำลังสองของเรา 89 00:04:21,930 --> 00:04:27,720 อันนี้จะเท่ากับ 17x กำลังสอง บวก 54x บวก 160 90 00:04:27,720 --> 00:04:28,790 และทั้งหมดนั่น 91 00:04:28,790 --> 00:04:31,170 แล้วอันนี้จะเป็นเทอม x กำลังสาม 92 00:04:31,170 --> 00:04:35,320 อันนี้จะเท่ากับ 6x กำลังสามบวกทั้งหมด 93 00:04:35,320 --> 00:04:38,000 แล้วสุดท้าย นี่คือเทอม x กำลังสี่ของเรา -- 94 00:04:38,000 --> 00:04:39,240 2x กำลังสี่ 95 00:04:39,240 --> 00:04:42,700 ขอผมลบอันนี้นะ 96 00:04:42,700 --> 00:04:46,620 แล้วผมมีเทอม x กำลังสี่ 97 00:04:46,620 --> 00:04:50,180 มันก็คือ 2x กำลังสี่ 98 00:04:50,180 --> 00:04:51,520 แล้วเราก็เสร็จ 99 00:04:51,520 --> 00:04:54,540 อันนี้เขียนในรูปอย่างง่ายได้เทอมนี่ตรงนี้ 100 00:04:54,540 --> 00:04:58,000 ผมแนะนำให้คุณตรวจคำตอบ โดยการหารยาวแบบ 101 00:04:58,000 --> 00:04:59,199 ดั้งเดิมดู 102 00:04:59,199 --> 00:04:59,699