1 00:00:05,255 --> 00:00:07,966 เมื่อคุณใช้บล็อกทำซ้ำเพื่อลูปโค้ด 2 00:00:08,133 --> 00:00:11,386 คอมพิวเตอร์รู้ได้ยังไงว่าทำซ้ำพอแล้ว 3 00:00:11,678 --> 00:00:15,766 ที่จริงบล็อกทำซ้ำซ่อนโค้ด ที่ซับซ้อนอีกชิ้นไว้ 4 00:00:15,891 --> 00:00:22,564 เรียกว่า for loop ซึ่งนับตั้งแต่ตอนเริ่ม ถึงค่าสุดท้ายด้วยจำนวนเพิ่มขึ้นที่จำเพาะ 5 00:00:22,731 --> 00:00:29,238 เช่นบล็อกทำซ้ำสามครั้งจะ นับ 1 ถึง 3 ทีละ 1 6 00:00:29,530 --> 00:00:32,574 ทุกครั้งที่นับ จะรันโค้ดด้านในลูป 7 00:00:32,824 --> 00:00:37,120 เจ้า for loop รู้ว่ามันรันกี่ครั้งแล้ว ด้วยตัวแปรตัวนับ 8 00:00:37,287 --> 00:00:39,790 ซึ่งถูกตั้งให้เริ่มที่จุดเริ่มต้นของลูป 9 00:00:39,998 --> 00:00:42,709 และใส่จำนวนที่เพิ่มขึ้นเข้าไป ทุกครั้งที่รันลูป 10 00:00:43,085 --> 00:00:47,381 เมื่อตัวแปรตัวนับมีค่ามากกว่าค่าสุดท้าย มันก็จะหยุดรัน 11 00:00:47,881 --> 00:00:52,844 ประโยชน์ของการใช้ for loop แทนบล็อกทำซ้ำ 12 00:00:53,095 --> 00:00:56,890 คือคุณสามารถเห็นตัวแปรตัวนับ และนำไปใช้ในลูปได้ 13 00:00:57,099 --> 00:01:02,479 เช่น ถ้าฉันมีดอกไม้หลายดอก และดอกแรกมี 1 เกสร 14 00:01:02,688 --> 00:01:06,149 ดอกที่ 2 มี 2 เกสร ดอกที่ 3 มี 3 เกสร 15 00:01:06,316 --> 00:01:10,737 ฉันสามารถใช้ for loop เพื่อให้ผึ้ง เก็บเกสรจำนวน "ตัวนับ" ได้ในแต่ละครั้ง 16 00:01:10,988 --> 00:01:15,450 คือ 1 ครั้งในดอกที่ 1, 2 ครั้งในดอกที่ 2, 3 ครั้งในดอกที่ 3 17 00:01:16,688 --> 00:01:21,458 นอกจากนี้ใน for loop ยังสามารถเพิ่ม จำนวนที่นับได้มากกว่าครั้งละ 1 18 00:01:21,458 --> 00:01:25,298 จะทีละ 2 ทีละ 4 หรือจำนวนที่ ต่างกันในแต่ละครั้งก็ได้ค่ะ