1 00:00:00,720 --> 00:00:05,735 จงหาค่าเฉลี่ย, มัธยฐาน และฐานนิยมของชุดตัวเลขต่อไปนี้ 2 00:00:05,735 --> 00:00:07,361 และเขาให้ตัวเลขเรามาตรงนี้ 3 00:00:07,361 --> 00:00:09,404 เวลามีคนบอกว่า "ค่าเฉลี่ย" 4 00:00:09,404 --> 00:00:13,723 เขามักหมายถึงสิ่งที่เราใช้ในภาษาทั่วไป, ว่า "ค่าเฉลี่ย" 5 00:00:13,723 --> 00:00:15,395 บางครั้งมันเรียกว่า "ค่าเฉลี่ยเลขคณิต" 6 00:00:15,395 --> 00:00:18,042 เพราะคุณจะเรียนต่อไปว่ามันมีวิธีคำนวณค่าเฉลี่ยหลายอย่าง 7 00:00:18,042 --> 00:00:20,364 แต่อันนี้ก็แค่, คุณแค่รวมจำนวนทั้งหมดเข้า 8 00:00:20,364 --> 00:00:22,129 แล้วหารด้วยจำนวนข้อมูลที่มี 9 00:00:22,129 --> 00:00:24,776 นั่นคือวิธีการวัดค่าเข้าหาศูนย์กลาง 10 00:00:24,776 --> 00:00:27,051 หรือคุณก็รู้, ค่าเฉลี่ย, มันคือค่านั้น 11 00:00:27,051 --> 00:00:28,398 นั่นคือค่าเฉลี่ยชองเรา 12 00:00:28,398 --> 00:00:31,649 เราอยากเฉลี่ย 23 บวก 29 13 00:00:31,649 --> 00:00:41,773 เราอยากบวก 23 บวก 29 บวก 20 บวก 32 บวก 23 บวก 21 บวก 33 บวก 25 14 00:00:41,773 --> 00:00:44,698 แล้วหารมันด้วยจำนวนข้อมูล 15 00:00:44,698 --> 00:00:49,900 แล้วมันมี [นับ] 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 ตัว 16 00:00:49,900 --> 00:00:51,479 คุณจึงหารด้วย 8 17 00:00:51,479 --> 00:00:53,568 ลองหากันว่ามันเท่ากับอะไร 18 00:00:53,568 --> 00:00:55,472 ที่จริง, ผมจะใช้เครื่องคิดเลขในข้อนี้ 19 00:00:55,472 --> 00:00:59,373 ผมบวกด้วยมือก็ได้ล แต่เราจะประหยัดเวลากว่าตรงนี้ 20 00:00:59,373 --> 00:01:20,364 เราก็ได้ 23 บวก 29 บวก 20 บวก 20 บวก 32 บวก 23 บวก 21 บวก 33 บวก 25 21 00:01:20,364 --> 00:01:23,476 แล้วผลบวกจำนวนทั้งหมดเป็น 206 22 00:01:23,476 --> 00:01:25,798 แล้วเราอยากหาร 206 ด้วย 8 23 00:01:25,798 --> 00:01:34,067 แล้ว, ถ้าเราหา 206 หารด้วย 8 เราจะได้ 25.75 24 00:01:34,067 --> 00:01:38,151 ค่าเฉลี่ยจึงเท่ากับ 25.75 25 00:01:38,151 --> 00:01:41,030 นี่ก็คือวิธีหนึ่งในการหาค่ากลาง, แนวโน้มหาศูนย์กลาง 26 00:01:41,030 --> 00:01:45,302 วิธีหาอีกวิธีคือมัธยฐาน. และนี่คือการเลือกเลขตรงกลาง 27 00:01:45,302 --> 00:01:47,485 ค่ามัธยฐาน 28 00:01:47,485 --> 00:01:51,479 และเวลาหาค่ามัธยฐาน, สิ่งที่เราอยากทำคือเรียงจำนวนเหล่านี้จากน้อยไปหามาก 29 00:01:51,479 --> 00:01:56,123 มันดูเหมือนว่าเลขที่น้อยที่สดุคือ 20. 20 30 00:01:56,123 --> 00:01:59,978 แล้วอันต่อไปคือ 21. 21. 31 00:01:59,978 --> 00:02:02,533 แล้วเราไป... มันไม่มี 22 ตรงนี้ 32 00:02:02,533 --> 00:02:07,361 มันมี อืม, ลองดูตรงนี้, มันมี 23 สองตัว -- 23 กับ 23 33 00:02:07,361 --> 00:02:10,473 ได้ 23 กับ 23 34 00:02:10,473 --> 00:02:13,817 ไม่มี 24, มันมี 25. 25. 35 00:02:13,817 --> 00:02:18,693 มันไม่มี [นับ] 26, 27, 28, มี 29. 29 36 00:02:18,693 --> 00:02:24,637 แล้วคุณมี 32. 32. แล้วคุณมี 33. 33 37 00:02:24,637 --> 00:02:26,448 เลขตรงกลางคืออะไรหลังกจากที่เรียงแล้ว 38 00:02:26,448 --> 00:02:30,814 เรามี [นับ] 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 ตัว. เรารู้แล้ว 39 00:02:30,814 --> 00:02:32,811 มันมีเลขตรงกลางอยู่สองตัว 40 00:02:32,811 --> 00:02:37,455 ถ้าคุณมีสองตัว -- ถ้าคุณจำนวนคู่, มันจะมีเลขสองตัวที่อยู่ 41 00:02:37,455 --> 00:02:40,705 ใกล้ค่ากลาง, แล้วเวลาหาค่ามัธยฐานเราจะเฉลี่ยพวกมัน 42 00:02:40,705 --> 00:02:43,120 งั้น 23 เป็นค่าหนึ่ง 43 00:02:43,120 --> 00:02:44,467 โดยตัวเองแล้ว มันเป็นมัธยฐานไม่ได้ 44 00:02:44,467 --> 00:02:47,133 เพราะมันมีเลข 3 ตัวน้อยกว่ามัน, และมีเลข 4 ตัวมากกว่ามัน 45 00:02:47,133 --> 00:02:52,455 และ 25 เองก็ไม่ใช่ค่ามัธยฐาน เพราะมันมีเลขมากกว่ามัน 3 ตัว และน้อยกว่ามัน 4 ตัว 46 00:02:52,455 --> 00:02:57,795 สิ่งที่เราทำคือเราหาค่ากลางของเลขสองตัวนี้ แล้วเราใช้มันเป็นมัธยฐาน 47 00:02:57,795 --> 00:03:05,365 ถ้าคุณเอา 23 บวก 25 หารด้วย 2, นั่นคือ 48 หารด้วย 2 ได้เท่ากับ 24 48 00:03:05,365 --> 00:03:09,312 แม้ว่า 24 จะไม่ใช่เลขในนี้ก็ตาม, แต่มัธยฐานเป็น 24 49 00:03:09,312 --> 00:03:10,984 นี่ก็คือเลขกลาง 50 00:03:10,984 --> 00:03:14,978 เหมือนเดิม, นี่คือวิธีคิดถึงแนวโน้มหาศูนย์กลาง 51 00:03:14,978 --> 00:03:17,718 และถ้าคุณอยากได้เลขที่แทนตรงกลาง 52 00:03:17,718 --> 00:03:19,715 ผมจะพูดให้ชัดเจน, มันไมมีทางหาได้ 53 00:03:19,715 --> 00:03:24,777 นี่คือวิธีการวัดค่ากลางค่าหนึ่ง, ค่ากลาง, ขอผมใส่ในเครื่องหมายคำพูดนะ -- 54 00:03:24,777 --> 00:03:28,446 "ค่ากลาง", ถ้าคุณต้องแสดงข้อมูลนี้ด้วยเลขตัวเอง 55 00:03:28,446 --> 00:03:31,046 มันมีวิธีแสดงข้อมูลด้วยตัวเลขเดียว 56 00:03:31,046 --> 00:03:33,368 แล้วสุดท้าย, เราสามารถคิดถึงฐานนิยม 57 00:03:33,368 --> 00:03:37,316 และฐานนิยมคือเลขที่ปรากฏบ่อยที่สุดในชุดข้อมูล 58 00:03:37,324 --> 00:03:42,470 แล้วตัวเลขพวกนี้ทั้งหมดที่ปรากฎตรงนี้มีครั้งเดียว ยกเว้นเรามี 23 ปรากฎสองครั้ง 59 00:03:42,470 --> 00:03:46,789 งั้น 20 -- เพราะว่า 23 ปรากฎบ่อยที่สุด 60 00:03:46,789 --> 00:03:49,111 มันปรากฎสองครั้ง, เลขตัวอื่นปรากฎแค่ครั้งเดียว, 61 00:03:49,204 --> 99:59:59,999 23 -- 23 จึงเป็นฐานนิยมของเรา