WEBVTT 00:00:00.000 --> 00:00:00.860 00:00:00.860 --> 00:00:05.470 มุม A ล้อมรอบมุมบนวงกลม O 00:00:05.470 --> 00:00:07.950 มุมนี้คือมุม A ตรงนี้ 00:00:07.950 --> 00:00:11.360 แล้วเวลาเขาบอกว่า มันเป็นมุมล้อมรอบ 00:00:11.360 --> 00:00:13.550 มันหมายความว่าด้านสองด้านของมุม 00:00:13.550 --> 00:00:15.820 สัมผัสกับวงกลม 00:00:15.820 --> 00:00:18.530 AC สัมผัสกับวงกลมที่จุด C 00:00:18.530 --> 00:00:23.090 AB สัมผัสวงกลมที่จุด B 00:00:23.090 --> 00:00:25.440 ขนาดของมุม A เป็นเท่าใด? 00:00:25.440 --> 00:00:28.730 ทีนี้ ผมแนะนำให้คุณหยุดวิดีโอตอนนี้ 00:00:28.730 --> 00:00:30.840 แล้วพยายามหาคำตอบเอง 00:00:30.840 --> 00:00:32.600 ผมจะให้คำใบ้ 00:00:32.600 --> 00:00:35.960 มันจะใช้ประโยชน์ความจริงที่ว่า นี่คือมุมล้อมรอบ 00:00:35.960 --> 00:00:38.580 คุณคงนึกภาพออก 00:00:38.580 --> 00:00:41.140 ผมถือว่าคุณได้ลองทำแล้วนะ 00:00:41.140 --> 00:00:42.560 ข้อมูลอีกอย่าง 00:00:42.560 --> 00:00:45.490 ที่เขาให้เราคือว่ามุม D ซึ่งเป็นมุมแนบใน 00:00:45.490 --> 00:00:50.960 เท่ากับ 48 องศาและมันตัดส่วนโค้งเดียวกัน -- 00:00:50.960 --> 00:00:53.940 นี่ก็คือส่วนโค้งที่มันตัด ส่วนโค้ง CB เรียกอย่างนั้นก็ได้ 00:00:53.940 --> 00:00:56.640 -- มันตัดส่วนโค้งนี่ตรงนี้ 00:00:56.640 --> 00:00:57.740 มันเป็นมุมแนบใน 00:00:57.740 --> 00:01:02.320 มุมที่จุดศูนย์กลางที่ตัดส่วนโค้งเดียวกัน 00:01:02.320 --> 00:01:04.840 จะมีค่าเป็นสองเท่าของมุมแนบใน 00:01:04.840 --> 00:01:07.235 นี่จึงเท่ากับ 96 องศา 00:01:07.235 --> 00:01:09.610 ผมแค่ขีดสามขีดตรงนี้เเพราะเราได้ 00:01:09.610 --> 00:01:11.370 ใช้สองขีดไปแล้ว 00:01:11.370 --> 00:01:15.855 สังเกตว่า พวกมันทั้งคู่ตัดส่วนโค้ง CB บางคนจะ 00:01:15.855 --> 00:01:18.530 บอกว่าค่าวัดของส่วนโค้ง CB เท่ากับ 69 องศา 00:01:18.530 --> 00:01:21.180 มุมที่ศูนย์กลางคือ 96 องศา มุมแนบใน 00:01:21.180 --> 00:01:23.570 จะเป็นครึ่งหนึ่งของค่านั้น คือ 48 องศา 00:01:23.570 --> 00:01:25.850 มันช่วยเราอย่างไร? 00:01:25.850 --> 00:01:29.560 เงื่อนงำสำคัญคือว่า มุมนี้เป็นมุมล้อมรอบ 00:01:29.560 --> 00:01:34.410 นั่นหมายความว่า AC กับ AB แต่ละเส้น สัมผัสกับวงกลม 00:01:34.410 --> 00:01:37.450 เส้นตรงที่สัมผัสกับวงกลม 00:01:37.450 --> 00:01:40.830 จะตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่ 00:01:40.830 --> 00:01:44.570 ตัดวงกลมที่จุดเดียวกันนั้น 00:01:44.570 --> 00:01:49.930 มุมนี่ตรงนี้จึงเป็นมุม 90 องศา 00:01:49.930 --> 00:01:53.730 และมุมนี่ตรงนี้จะเป็นมุม 90 องศา 00:01:53.730 --> 00:01:56.380 OC ตั้งฉากกับ CA 00:01:56.380 --> 00:02:00.330 OB ซึ่งก็คือรัศมี จะตั้งฉากกับ BA 00:02:00.330 --> 00:02:03.160 ซึ่งเป็นเส้นสัมผัส พวกมันตั้งคู่ตัด 00:02:03.160 --> 00:02:06.520 ตรงนี้ที่ B ทีนี้ คุณอาจเห็นได้ทันที 00:02:06.520 --> 00:02:08.509 เรามีสี่เหลี่ยมตรงนี้ 00:02:08.509 --> 00:02:13.480 ABOC เป็นสี่เหลี่ยม มุมของมัน 00:02:13.480 --> 00:02:20.310 จะรวมกันได้ 360 องศา 00:02:20.310 --> 00:02:23.170 เรารู้ได้ เรารู้เขียนมันแบบนี้ได้ 00:02:23.170 --> 00:02:26.380 เราเขียนขนาดของมุม A 00:02:26.380 --> 00:02:37.930 บวก 90 องศาบวกอีก 90 องศาบวก 96 องศา 00:02:37.930 --> 00:02:40.880 จะเท่ากับ 360 องศา 00:02:40.880 --> 00:02:46.620 00:02:46.620 --> 00:02:49.720 หรือวิธีคิดอีกอย่างคือว่า ถ้าเราลบ 180 00:02:49.720 --> 00:02:52.670 ทั้งสองข้าง ถ้าเราลบมันจากทั้งสองด้าน 00:02:52.670 --> 00:02:59.870 เราจะได้ขนาดของมุม A บวก 96 องศา 00:02:59.870 --> 00:03:05.142 จะเท่ากับ 180 องศา 00:03:05.142 --> 00:03:06.600 หรือวิธีคิดอีกอย่างคือว่า 00:03:06.600 --> 00:03:09.950 ขนาดของมุม A หรือมุม A นั่นกับมุม O 00:03:09.950 --> 00:03:12.860 ตรงนี้ -- คุณเรียกมันว่ามุม COB ได้ -- 00:03:12.860 --> 00:03:15.620 พวกนี้จะเป็นมุมประกอบสองมุมฉากถ้าพวกมัน 00:03:15.620 --> 00:03:18.990 รวมกันได้ 180 องศา 00:03:18.990 --> 00:03:22.130 ถ้าเราลบ 96 องศาจากทั้งสองด้าน 00:03:22.130 --> 00:03:27.561 เราจะได้ขนาดของมุม A เท่ากับ 00:03:27.561 --> 00:03:30.060 -- ผมไม่อยากทำให้มันเหมือน เครื่องหมายน้อยกว่า 00:03:30.060 --> 00:03:32.380 ขอทำให้ -- ขนาดของมุม -- อันนี้ 00:03:32.380 --> 00:03:35.010 ที่จริงแล้วเหมือน -- ขนาดของมุม A 00:03:35.010 --> 00:03:37.980 เท่ากับ 180 ลบ 96 00:03:37.980 --> 00:03:39.840 ลองดู 180 ลบ 90 ได้ 90 00:03:39.840 --> 00:03:46.190 แล้วเราลบอีก 6 ได้ 84 องศา 00:03:46.190 --> 00:03:46.695