0:00:00.000,0:00:00.710 ... 0:00:00.710,0:00:05.000 ผมบอกหลายครั้งแล้วว่า U ตัวใหญ่นั้นคือ 0:00:05.000,0:00:07.754 พลังงานภายในของระบบ 0:00:07.754,0:00:10.220 และมันคือพลังงานทุกอย่างที่ถูกโยนเข้าไปในระบบ 0:00:10.220,0:00:12.490 ได้แก่ พลังงานจลน์ของโมเลกุล 0:00:12.490,0:00:15.700 พลังงานศักย์ ในกรณีที่โมเลกุลสั่น 0:00:15.700,0:00:19.660 พลังงานในพันธะเคมี 0:00:19.660,0:00:22.060 พลังงานศักย์ของอิเลกตรอนที่พยายามจะเคลื่อนที่ 0:00:22.060,0:00:22.590 ไปที่ใดที่หนึ่ง 0:00:22.590,0:00:25.200 แต่เพื่อความสะดวก โดยเฉพาะพวกเราที่ 0:00:25.200,0:00:29.130 กำลังศึกษาพื้นฐานของเคมี ฟิสิกส์ และ อุณหพลศาสตร์ 0:00:29.130,0:00:32.229 เราจะอนุมานว่าเรากำลังพูดถึงระบบ 0:00:32.229,0:00:33.570 ซึ่งประกอบด้วยแก๊สอุดมคติ 0:00:33.570,0:00:38.500 และยิ่งไปกว่านั้น มันเป็นแก๊สอุดมคติซึ่งมีอะตอมเดียว 0:00:38.500,0:00:43.390 ดังนั้นทุกอย่างในระบบของเราเป็นเพียงอะตอมเดี่ยวๆ 0:00:43.390,0:00:46.200 และในกรณีนี้ มีพลังงานเพียงอย่างเดียวในระบบ 0:00:46.200,0:00:49.310 คือพลังงานจลน์ของอนุภาคเหล่านี้ 0:00:49.310,0:00:51.080 และสิ่งที่ผมต้องการจะทำในวิดีโอนี้ มันจะ 0:00:51.080,0:00:53.780 ค่อนข้างเป็นการคำนวณ แต่ผมคิดว่ามันจะตอบโจทย์สำหรับ 0:00:53.780,0:00:57.880 พวกคุณที่สนใจในเรื่องนี้ คือการเชื่อมปริมาณของ 0:00:57.880,0:01:01.010 พลังงานภายในระบบ กับความดัน 0:01:01.010,0:01:02.850 ปริมาตร และอุณหภูมิของระบบ 0:01:02.850,0:01:06.060 ดังนั้น เราต้องการที่จะหาความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริมาตร หรือ อุณหภูมิ 0:01:06.060,0:01:07.190 กับพลังงานภายใน 0:01:07.190,0:01:10.730 สังเกตทุกๆวิดีโอที่ผ่านมา ผมได้บอกว่า 0:01:10.730,0:01:12.420 การเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในคืออะไร 0:01:12.420,0:01:15.810 และเราได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมันกับพลังงานความร้อนซึ่งถูกเติมหรือดึง 0:01:15.810,0:01:18.600 ออกจากระบบ หรืองานที่กระทำต่อระบบ 0:01:18.600,0:01:19.760 หรือถูกกระทำโดยระบบ 0:01:19.760,0:01:22.490 แต่ตอนนี้ ก่อนที่เราจะสนใจเรื่องงานหรือความร้อน 0:01:22.490,0:01:24.445 เราจะรู้ได้อย่างไรว่ามีพลังงานภายในเท่าไหร่ 0:01:24.445,0:01:25.680 ภายในระบบ 0:01:25.680,0:01:28.770 เพื่อตอบคำถาม เรามาทดลองทางความคิดกันดีกว่า 0:01:28.770,0:01:29.800 เพื่อตอบคำถาม เรามาทดลองทางความคิดกันดีกว่า 0:01:29.800,0:01:33.740 ผมจะทำให้กรณีนี้ซับซ้อนน้อยลงสักหน่อย 0:01:33.740,0:01:38.130 แต่ผมคิดว่ามันจะใช้ได้และมีเหตุผลเพียงพอสำหรับคุณ 0:01:38.130,0:01:42.210 สมมติว่า เดี๋ยวผมวาดดีกว่า เรามีลูกบาศก์ลูกหนึ่ง 0:01:42.210,0:01:44.810 และบางอย่างบอกผมว่าผมอาจเคยทำ 0:01:44.810,0:01:47.230 การพิสูจน์แบบกึ่งๆนี้ไปแล้วไปเพลย์ลิสต์ของวิชาฟิสิกส์ 0:01:47.230,0:01:50.090 แต่ผมไม่ได้เชื่อมสิ่งนี้เข้ากับพลังงานภายใน 0:01:50.090,0:01:51.930 ดังนั้นผมจะทำมันที่นี่ 0:01:51.930,0:01:56.160 สมมติว่าระบบของผมคือลูกบาศก์นี้ 0:01:56.160,0:01:58.180 และสมมติว่าขนาดของลูกบาศก์ 0:01:58.180,0:02:00.110 คือ x ในทุกๆทิศทาง 0:02:00.110,0:02:04.010 ดังนั้น มันสูง x, กว้าง x, และลึก x 0:02:04.010,0:02:07.510 และปริมาตรของมันคือ x ยกกำลังสาม 0:02:07.510,0:02:09.389 และสมมติว่ามีอนุภาค N อนุภาค 0:02:09.389,0:02:12.600 ในระบบของผม N ตัวใหญ่ 0:02:12.600,0:02:15.480 ผมอาจเขียนว่า n โมลก็ได้ แต่เราจะ 0:02:15.480,0:02:16.260 ทำให้มันค่อนข้างตรงไปตรงมา 0:02:16.260,0:02:17.500 ผมมีอนุภาค N อนุภาค 0:02:17.510,0:02:20.260 ... 0:02:20.260,0:02:23.810 มันก็ทำตัว อย่างที่มันต้องการ 0:02:23.810,0:02:26.030 ตอนนี้ ผมจะสมมติครั้งใหญ่ 0:02:26.030,0:02:27.100 เพื่อให้ทุกอย่างง่ายขึ้น 0:02:27.100,0:02:28.610 แต่ผมคิดว่ามันสมเหตุสมผล 0:02:28.610,0:02:31.210 ในระบบปกติ ทุกอนุภาค และเราเคยทำสิ่งนี้แล้ว 0:02:31.210,0:02:34.410 จะกระดอนในทุกทิศทุกทาง 0:02:34.410,0:02:36.330 จะกระดอนในทุกทิศทุกทาง 0:02:36.330,0:02:38.950 และสิ่งที่ทำให้เกิดแรงดัน คือ 0:02:38.950,0:02:41.420 เมื่อมันกระดอนกระทบด้านต่างๆของลูกบาศก์ 0:02:41.420,0:02:43.750 และเมื่อมันชนกันเอง 0:02:43.750,0:02:45.360 ในทุกทิศทาง 0:02:45.360,0:02:48.170 เพื่อให้การคำนวณไม่ซับซ้อน 0:02:48.170,0:02:51.000 และเพื่อให้ไม่ใช้เวลามากจนเกินไป 0:02:51.000,0:02:53.120 ผมจะสร้างสมมติฐานอย่างหนึ่ง 0:02:53.120,0:02:55.340 ผมจะสมมติว่า หนึ่งในสามของ 0:02:55.340,0:03:00.210 อนุภาคทั้งหมดเคลื่อนที่ 0:03:00.210,0:03:01.730 ขนานกับแกนแต่ละอัน 0:03:01.730,0:03:07.660 ดังนั้น หนึ่งในสามของอนุภาคทั้งหมดเคลื่อนที่ในทิศทางนี้ 0:03:07.660,0:03:09.710 ผมจะพูดว่า ทางซ้าย-ขวา 0:03:09.710,0:03:13.440 อีกหนึ่งในสามเคลื่อนที่ขึ้น-ลง 0:03:13.440,0:03:17.300 ... 0:03:17.300,0:03:21.970 และหนึ่งในสามที่เหลือเคลื่อนที่หน้า-หลัง 0:03:21.970,0:03:24.520 เรารู้ว่านี่ไม่ใช่สิ่งที่เกิดจริง 0:03:24.520,0:03:26.350 แต่มันทำให้การคำนวณง่ายขึ้น 0:03:26.350,0:03:29.640 และถึงแม้คุณใช้กลศาสตร์เชิงสถิติ 0:03:29.640,0:03:32.370 กับทุกๆอนุภาคที่เคลื่อนที่ในทุกทิศทาง 0:03:32.370,0:03:34.350 คุณก็จะได้ผลที่เหมือนกัน 0:03:34.350,0:03:35.820 แม้จะเป็นเช่นนั้น ผมยังต้องบอกว่านี่เป็น 0:03:35.820,0:03:36.590 การลดทอนความซับซ้อนเป็นอย่างมาก 0:03:36.590,0:03:39.840 มีโอกาสน้อยนิดมากที่จะมี 0:03:39.840,0:03:43.120 ระบบที่เป็นเช่นนี้จริงๆ 0:03:43.120,0:03:44.860 หลังจากนี้ เราจะพูดถึงเอนโทรปีและเหตุผล 0:03:44.860,0:03:46.400 ว่าทำไมมันถึงมีความเป็นไปได้น้อยมาก 0:03:46.400,0:03:48.200 แต่นี่จะเป็นระบบที่เราจะศึกษา 0:03:48.200,0:03:49.720 และระบบนี้จะก่อให้เกิดความดัน 0:03:49.720,0:03:51.420 และมันทำให้การคำนวณของเราเข้าใจง่ายขึ้น 0:03:51.420,0:03:53.770 พูดไปทั้งหมดแล้ว เราเริ่มศึกษาระบบนี้เลยดีกว่า 0:03:53.770,0:03:57.070 เริ่มด้วยการมองจากด้านข้าง 0:03:57.070,0:03:59.010 ด้านข้าง ตรงนี้ 0:03:59.010,0:04:01.770 ... 0:04:01.770,0:04:03.800 และเราจะสนใจเพียงอนุภาคเดียว 0:04:03.800,0:04:05.280 ผมว่าผมน่าจะใช้สีเขียว 0:04:05.280,0:04:07.670 เอาเป็นว่าผมมีอนุภาคหนึ่งอนุภาค 0:04:07.670,0:04:12.660 มันมีมวล m และความเร็ว v 0:04:12.660,0:04:17.500 ... 0:04:17.500,0:04:21.890 และนี่คือหนึ่งใน N อนุภาคในระบบของเรา 0:04:21.890,0:04:25.190 แต่ที่เราสนใจคือ อนุภาคนี้ 0:04:25.190,0:04:28.010 สร้างความดันบนผนังด้านนี้เท่าไหร่ 0:04:28.010,0:04:30.530 ... 0:04:30.530,0:04:34.180 เรารู้พื้นที่ของผนังด้านนี้ใช่มั้ย 0:04:34.180,0:04:37.260 ผนังนี้มีพึ้นที่ x คูณ x 0:04:37.260,0:04:40.740 คือพิ้นที่เท่ากับ x กำลังสอง 0:04:40.740,0:04:43.910 อนุภาคนี้กระทำแรงขนาดเท่าไหร่ 0:04:43.910,0:04:44.880 คิดอย่างนี้ดีกว่า 0:04:44.880,0:04:47.960 มันเคลื่อนที่ไปด้านหน้า หรือซ้าย-ขวาอย่างนี้ 0:04:47.960,0:04:51.240 และแรงจะเกิดเมื่อมันเปลี่ยนโมเมนตัม 0:04:51.240,0:04:53.420 ผมจะทบทวนเรื่องจลนศาสตร์เล็กน้อย 0:04:53.420,0:04:59.800 เรารู้ว่าแรงเท่ากับมวลคูณความเร่ง 0:04:59.800,0:05:02.700 เรารู้ว่าความเร่งสามารถเขียนได้ในรูปของ 0:05:02.700,0:05:10.630 การเปลี่ยนแปลงของความเร็วต่อการเปลี่ยนแปลงของเวลา 0:05:10.630,0:05:12.940 และ แน่นอน เรารู้ว่ามันสามารถเขียนได้อีกแบบหนึ่ง 0:05:12.940,0:05:15.800 มวลเป็นค่าคงที่และไม่เปลี่ยนแปลง 0:05:15.800,0:05:18.500 สำหรับฟิสิกส์ระดับที่เรากำลังศึกษา ดังนั้น มันคือ เดลต้า 0:05:18.500,0:05:20.140 เราสามารถใส่มันในการเปลี่ยนแปลง 0:05:20.140,0:05:23.820 ดังนั้น มันจึงเป็น เดลต้า mv หารด้วยการเปลี่ยนแปลงของเวลา 0:05:23.820,0:05:26.730 และนี่ก็คือการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัม ใช่มั้ย 0:05:26.730,0:05:30.890 ดังนั้นนี่คือการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัมหารด้วยการเปลี่ยนแปลงของเวลา 0:05:30.890,0:05:33.030 และนี่เป็นอีกวิธีการเขียนแรง 0:05:33.030,0:05:34.560 แล้วอะไรคือการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัม 0:05:34.560,0:05:35.980 ของอนุภาคนี้ 0:05:35.980,0:05:37.800 มันจะชนกำแพงนี้ 0:05:37.800,0:05:41.180 ในทิศทางนี้ และตอนนี้ มันมีโมเมนตัม 0:05:41.180,0:05:43.250 โมเมนตัมของมันมีค่าเท่ากับ mv 0:05:43.250,0:05:45.420 และมันจะชนกำแพง แล้วก็ 0:05:45.420,0:05:47.130 สะท้อนตรงกลับมา 0:05:47.130,0:05:49.530 แล้วโมเมนตัมของมันจะเป็นเท่าไหร่ 0:05:49.530,0:05:50.990 มันมีมวลเท่าเดิม 0:05:50.990,0:05:52.220 และความเร็วเท่าเดิม 0:05:52.220,0:05:54.190 เราจะอนุมานว่ามันเป็นการชนที่ยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์ 0:05:54.190,0:05:56.270 ไม่มีพลังงานสูญเสียไปเป็นความร้อนหรืออย่างอื่น 0:05:56.270,0:05:57.980 แต่ความเร็วมีทิศตรงกันข้าม 0:05:57.980,0:06:01.640 ดังนั้น โมเมนตัมใหม่จะเป็น ลบ mv 0:06:01.640,0:06:04.380 เพราะความเร็วเปลี่ยนทิศทาง 0:06:04.380,0:06:08.590 ถ้าผมเดินทางมาด้วยโมเมนตัมเท่ากับ mv และผมกระดอนกลับ 0:06:08.590,0:06:10.950 ด้วยโมเมนตัมเท่ากับ ลบ mv 0:06:10.950,0:06:12.890 การเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัมของผมเท่ากับเท่าไหร่ 0:06:12.890,0:06:17.720 การเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัมของผม หลังจากการกระดอน มีค่าเท่ากับ 0:06:17.720,0:06:19.220 ความต่างระหว่างค่าสองค่านี้ 0:06:19.220,0:06:20.470 เท่ากับ 2mv 0:06:20.470,0:06:22.830 ... 0:06:22.830,0:06:24.230 แต่นั่นไม่ได้ตอบคำถามเรื่องแรง 0:06:24.230,0:06:26.860 เราต้องการรู้อัตราความเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัมต่อหน่วยเวลา 0:06:26.860,0:06:32.390 ... 0:06:32.390,0:06:33.840 แล้วมันเกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน 0:06:33.840,0:06:35.410 ความถี่เป็นเท่าไหร่ 0:06:35.410,0:06:39.040 มันจะเกิดขึ้นทุกครั้งที่เรามาที่จุดนี้ 0:06:39.040,0:06:40.020 เราจะชนกำแพงนี้ 0:06:40.020,0:06:41.670 แล้วอนุภาคก็จะต้องเดินทางมาตรงนี้ กระดอน 0:06:41.670,0:06:43.080 กลับจากกำแพงนั้น และกลับมา 0:06:43.080,0:06:45.370 ตรงนี้อีกครั้ง และชนอีกครั้ง 0:06:45.370,0:06:47.600 และนั่นคือความถี่ที่มันจะเกิดขึ้น 0:06:47.600,0:06:51.280 แล้วเราต้องรอนานแค่ไหนระหว่าง 0:06:51.280,0:06:52.450 การชนแต่ละครั้ง 0:06:52.450,0:06:55.040 อนุภาคต้องเดินทางกลับเป็นระยะทาง x 0:06:55.040,0:06:56.300 แล้วมันจึงจะชน 0:06:56.300,0:06:58.790 มันจะต้องเดินทางเป็นระยะทาง x ไปทางซ้าย 0:06:58.790,0:07:00.090 ระยะทางนี้คือ x 0:07:00.090,0:07:02.890 ผมจะเขียนโดยใช้สีอื่น 0:07:02.890,0:07:04.720 ระยะทางตรงนี้คือ x 0:07:04.720,0:07:07.310 มันจะต้องเดินทางเป็นระยะ x เพื่อเดินทางย้อนกลับ 0:07:07.310,0:07:08.800 แล้วมันจะต้องเดินทางย้อนอีกเป็นระยะ x 0:07:08.800,0:07:11.740 ดังนั้นมันจะต้องเดินทางทั้งหมดเป็นระยะทาง 2x 0:07:11.740,0:07:15.060 แล้วมันจะใช้เวลาเท่าไหร่ในการเดินทางระยะ 2x 0:07:15.060,0:07:19.100 เวลา หรือเดลต้า T มีค่าเท่ากับ... เรารู้ว่าจะหายังไง 0:07:19.100,0:07:22.710 ระยะทางเท่ากับอัตราคูณเวลา 0:07:22.710,0:07:29.390 ถ้าเราหารระยะทางด้วยอัตรา เราจะได้ 0:07:29.390,0:07:30.630 เวลาที่เราใช้ 0:07:30.630,0:07:33.900 นี่เป็นแค่สูตรการเคลื่อนที่พื้นฐาน 0:07:33.900,0:07:35.500 เดลต้า T ของเรา ระยะทางที่เราต้อง 0:07:35.500,0:07:36.830 เดินทางคือ ไปและกลับ 0:07:36.830,0:07:41.040 ดังนั้นมันคือ 2x หารด้วย... อัตราของเราคืออะไรนะ 0:07:41.040,0:07:42.720 อัตราของเราคือความเร็ว 0:07:42.720,0:07:43.970 จึงหารด้วย v 0:07:43.970,0:07:47.810 ... 0:07:47.810,0:07:48.260 เสร็จแล้ว 0:07:48.260,0:07:51.440 และนี่คือเดลต้า T 0:07:51.440,0:08:03.680 และการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัมต่อเวลาเท่ากับ 0:08:03.680,0:08:04.620 สองเท่าของโมเมนตัมตกกระทบ 0:08:04.620,0:08:07.500 เนื่องจากเรากระดอนกลับด้วยขนาดเท่าเดิม 0:08:07.500,0:08:08.430 แต่เป็นโมเมนตัมค่าติดลบ 0:08:08.430,0:08:09.475 นั่นคือการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัมของเรา 0:08:09.475,0:08:12.890 แล้วการเปลี่ยนแปลงของเวลาคือค่าตรงนี้ 0:08:12.890,0:08:15.380 มันคือระยะทางทั้งหมดที่เราต้องเดินทางระหว่าง 0:08:15.380,0:08:18.800 การชนกับกำแพงนี้ หารด้วยความเร็วของเรา 0:08:18.800,0:08:27.920 ดังนั้นมันคือ 2x หารด้วย v ซึ่งเท่ากับ 2mv คูณกับ 0:08:27.920,0:08:30.780 ส่วนกลับของค่านี้ 0:08:30.780,0:08:32.755 คือ v หารด้วย 2x 0:08:32.755,0:08:34.010 และมันเท่ากับเท่าไหร่ 0:08:34.010,0:08:35.710 สองตัดกัน 0:08:35.710,0:08:41.710 มันจึงเท่ากับ mv ยกกำลังสอง หารด้วย x 0:08:41.710,0:08:42.260 น่าสนใจ 0:08:42.260,0:08:45.250 เรามาถึงจุดที่น่าสนใจแล้ว 0:08:45.250,0:08:47.590 แต่ถ้ามันดูไม่ค่อยน่าสนใจ 0:08:47.590,0:08:48.260 ทนกับผมต่ออีกสักนิด 0:08:48.260,0:08:52.520 และนี่คือแรงที่กระทำโดยอนุภาคหนึ่งอนุภาค อันนี้ 0:08:52.520,0:08:56.730 แรงจากหนึ่งอนุภาคบนกำแพงนี้ 0:08:56.730,0:09:02.330 ... 0:09:02.330,0:09:03.840 แล้วพื้นที่คืออะไร 0:09:03.840,0:09:05.090 เราสนใจความดัน 0:09:05.090,0:09:12.200 ... 0:09:12.200,0:09:14.610 เราเขียนไว้ตรงนี้ 0:09:14.610,0:09:16.890 ความดันเท่ากับแรงต่อพื้นที่ 0:09:16.890,0:09:21.360 ... 0:09:21.360,0:09:24.160 และนี่คือแรงของอนุภาคนั้น 0:09:24.160,0:09:28.570 และมันคือ mv กำลังสอง หารด้วย x หารด้วย 0:09:28.570,0:09:29.840 พื้นที่ของกำแพง 0:09:29.840,0:09:31.730 แล้วพื้นที่กำแพงเป็นเท่าไหร่ 0:09:31.730,0:09:35.200 พื้นที่ของกำแพงตรงนี้ แต่ละด้านเท่ากับ x 0:09:35.200,0:09:37.610 แล้วถ้าเราวาดกำแพงตรงนั้น มันคือ x คูณ x 0:09:37.610,0:09:39.360 มันคือ x กำลังสอง 0:09:39.360,0:09:43.390 แล้วหารด้วยพื้นที่ของกำแพง คือ x กำลังสอง 0:09:43.390,0:09:44.250 มันเท่ากับเท่าไหร่ 0:09:44.250,0:09:52.370 มันเท่ากับ mv กำลังสอง หารด้วย x กำลังสาม 0:09:52.370,0:09:54.790 คุณพูดได้ว่า มันคือการคูณด้วย หนึ่งส่วน x กำลังสอง 0:09:54.790,0:09:55.760 ส่วนนี้จึงเป็น x กำลังสาม 0:09:55.760,0:09:57.530 มันก็แค่การคิดเลขเศษส่วน 0:09:57.530,0:09:59.120 ตอนนี้เราพบสิ่งที่น่าสนใจแล้ว 0:09:59.120,0:10:07.160 ความดันที่เกิดจากอนุภาคนี้ เราจะเรียกว่า 0:10:07.160,0:10:14.220 จากอนุภาคอันนี้ มีค่าเท่ากับ mv 0:10:14.220,0:10:16.750 ยกกำลังสอง หารด้วย x กำลังสาม 0:10:16.750,0:10:18.650 แล้ว x กำลังสามคืออะไร 0:10:18.650,0:10:20.960 มันคือปริมาตรของภาชนะของเรา 0:10:20.960,0:10:22.210 หารด้วยปริมาตร 0:10:22.210,0:10:27.120 ผมจะเขียนแทนด้วยตัว V ใหญ่ 0:10:27.120,0:10:29.130 ลองมาดูว่าเราสามารถเชื่อมสิ่งนี้กับสิ่งอื่น 0:10:29.130,0:10:29.630 ที่น่าสนใจได้หรือไม่ 0:10:29.630,0:10:32.820 มันแปลว่าความดันที่เกิดจาก 0:10:32.820,0:10:36.220 อนุภาคนี้ ที่จริง ให้ผมเลื่อนไปอีกขั้นหนึ่ง 0:10:36.220,0:10:39.280 นี่คือหนึ่งอนุภาคบนกำแพงนี้ใช่มั้ย 0:10:39.280,0:10:40.900 นี่มาจากหนึ่งอนุภาคบนกำแพงนี้ 0:10:40.900,0:10:45.890 ทีนี้ จากอนุภาคทั้งหมด เรามี N อนุภาคในลูกบาศก์ 0:10:45.890,0:10:47.860 เป็นเศษส่วนเท่าไหร่ที่จะ 0:10:47.860,0:10:49.170 กระดอนจากกำแพงนี้ 0:10:49.170,0:10:50.730 คือที่จะทำอย่างเดียวกัน 0:10:50.730,0:10:52.950 กับอนุภาคนี้ 0:10:52.950,0:10:53.820 ผมเพิ่งพูดไป 0:10:53.820,0:10:55.380 หนึ่งในสามจะเคลื่อนที่ในทิศทางนี้ 0:10:55.380,0:10:56.820 หนึ่งในสามจะเคลื่อนที่ขึ้น-ลง 0:10:56.820,0:10:58.930 และอีกหนึ่งในสามจะเคลื่อนที่เข้า-ออก 0:10:58.930,0:11:02.420 และถ้าเรามีทั้งหมด N อนุภาค N/3 จะ 0:11:02.420,0:11:06.195 ทำอย่างเดียวกันกับที่อนุภาคนี้ทำ 0:11:06.195,0:11:08.740 ... 0:11:08.740,0:11:10.350 นี่คือความดันจากหนึ่งอนุภาค 0:11:10.350,0:11:12.850 ถ้าผมต้องการความดันจากอนุภาคทั้งหมดบน 0:11:12.850,0:11:15.960 กำแพงนั้น ความดันรวมบนกำแพงนั้นจะมาจาก 0:11:15.960,0:11:18.000 อนุภาคจำนวน N/3 อนุภาค 0:11:18.000,0:11:19.990 อนุภาคที่เหลือไม่ได้กระดอนจากกำแพงนั้น 0:11:19.990,0:11:21.700 เราจึงไม่ต้องกังวลกับมัน 0:11:21.700,0:11:26.620 ดังนั้น ถ้าเราต้องการความดันรวมบนกำแพงนั้น 0:11:26.620,0:11:29.150 ผมจะเขียนว่า ความดัน ห้อยด้วย บนกำแพง 0:11:29.150,0:11:31.060 ความดันรวมบนกำแพงจะเป็นความดันจาก 0:11:31.060,0:11:37.400 หนึ่งอนุภาค คือ mv กำลังสอง หารด้วยปริมาตร คูณกับ 0:11:37.400,0:11:40.950 จำนวนอนุภาคทั้งหมดที่ชนกำแพงนี้ 0:11:40.950,0:11:44.750 จำนวนอนุภาคทั้งหมดนั้นคือ N/3 0:11:44.750,0:11:47.270 เพราะเพียงค่า 1/3 จะเคลื่อนที่ในทิศทางนั้น 0:11:47.270,0:11:50.800 และความดันรวมบนกำแพงนั้นเท่ากับ mv กำลังสอง 0:11:50.800,0:11:52.790 หารด้วยปริมาตรของภาชนะของเรา คูณกับ 0:11:52.790,0:11:54.115 จำนวนอนุภาคทั้งหมด หาร 3 0:11:54.115,0:11:57.610 มาดูกันว่าเราจะเปลี่ยนรูปสิ่งนี้ได้สักนิดหรือเปล่า 0:11:57.610,0:12:02.420 ถ้าเราคูณทั้งสองด้านด้วย มาดูกันว่าเราทำอะไรได้บ้าง 0:12:02.420,0:12:14.390 ถ้าเราคูณทั้งสองด้านด้วย 3v เราได้ pv คูณสาม เท่ากับ 0:12:14.390,0:12:21.730 mv กำลังสอง คูณ N ซึ่ง N คือจำนวนอนุภาค 0:12:21.730,0:12:24.580 ลองหารทั้งสองด้านด้วย N 0:12:24.580,0:12:34.270 เราจะได้ 3pv อันที่จริง ทิ้ง N ไว้ตรงนี้ดีกว่า 0:12:34.270,0:12:41.240 หารทั้งสองด้านของสมการนี้ด้วย 2 0:12:41.240,0:12:43.520 แล้วเราได้... เราได้อะไร 0:12:43.520,0:12:49.320 เราได้ 3/2 pv เท่ากับ... นี่คือส่วนที่น่าสนใจ 0:12:49.320,0:12:54.780 มันเท่ากับ N จำนวนของอนุภาคที่เรามี คูณ mv 0:12:54.780,0:12:57.920 กำลังสอง หาร 2 0:12:57.920,0:12:59.610 จำไว้ ผมเพิ่งหารสมการนี้ ตรงนี้ 0:12:59.610,0:13:00.650 ด้วย 2 แล้วได้สิ่งนี้ 0:13:00.650,0:13:02.280 แล้วผมก็ทำมันด้วยเหตุผลจำเพาะ 0:13:02.280,0:13:05.260 mv กำลังสอง หาร 2 คืออะไร 0:13:05.260,0:13:09.910 mv กำลังสอง หาร 2 คือพลังงานจลน์ของ 0:13:09.910,0:13:11.140 อนุภาคเล็กๆนั้น ที่เราสนใจมาตั้งแต่แรก 0:13:11.140,0:13:12.900 นั่นคือสูตรสำหรับพลังงานจลน์ 0:13:12.900,0:13:20.070 พลังงานจลน์เท่ากับ mv กำลังสอง หาร 2 0:13:20.070,0:13:21.950 นี่คือพลังงานจลน์ของอนุภาคหนึ่งอนุภาค 0:13:21.950,0:13:28.570 ... 0:13:28.570,0:13:30.890 ตอนนี้ เราจะคูณมันด้วยจำนวน 0:13:30.890,0:13:33.280 อนุภาคที่เรามี คือคูณ N 0:13:33.280,0:13:35.890 N คูณพลังงานจลน์ของหนึ่งอนุภาคจะเป็น 0:13:35.890,0:13:37.490 พลังงานจลน์ของอนุภาคทั้งหมด 0:13:37.490,0:13:39.430 และ แน่นอน เราสร้างสมมติฐานไว้อีกอย่างหนึ่ง 0:13:39.430,0:13:41.160 ผมควรบอกว่าผมอนุมานว่าอนุภาคทั้งหมด 0:13:41.160,0:13:43.510 เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเดียวกัน และมีมวลเท่ากัน 0:13:43.510,0:13:45.880 ในสถานการณ์จริง อนุภาคต่างๆอาจมี 0:13:45.880,0:13:47.060 ความเร็วที่ต่างกันมาก 0:13:47.060,0:13:48.980 แต่มันเป็นหนึ่งในสมมติฐานที่เราสร้างเพื่อลดความซับซ้อน 0:13:48.980,0:13:50.850 ฉะนั้น เราเพิ่งอนุมานว่ามันมีค่าเหล่านั้น 0:13:50.850,0:13:53.890 ถ้าผมคูณ N กับอันนี้ 0:13:53.890,0:13:56.285 นี่คือพลังงานจลน์ของระบบ 0:13:56.285,0:14:01.700 ... 0:14:01.700,0:14:03.140 เกือบเสร็จแล้ว 0:14:03.140,0:14:04.480 ที่จริง เราทำเสร็จแล้ว 0:14:04.480,0:14:08.610 เราเพิ่งพบว่าพลังงานจลน์ของระบบ 0:14:08.610,0:14:12.730 เท่ากับ 3/2 คุณความดัน คูณปริมาตร 0:14:12.730,0:14:13.650 ของระบบ 0:14:13.650,0:14:16.270 ทีนี้ อะไรคือพลังงานจลน์ของระบบ 0:14:16.270,0:14:17.320 มันคือพลังงานภายใน 0:14:17.320,0:14:19.290 เนื่องจากเราพูดว่าพลังงานทั้งหมดในระบบ เนื่องจากมันคือ 0:14:19.290,0:14:22.900 แก๊สอุดมคติซึ่งมีอะตอมเดี่ยว พลังงานทั้งหมดใน 0:14:22.900,0:14:25.770 ระบบคือพลังงานจลน์ 0:14:25.770,0:14:30.980 เราเลยพูดได้ว่าพลังงานภายในของระบบเท่ากับ 0:14:30.980,0:14:33.370 นั่นก็คือพลังงานจลน์ทั้งหมดของระบบ 0:14:33.370,0:14:38.020 มันเท่ากับ 3/2 เท่าของความดันรวม คูณกับ 0:14:38.020,0:14:38.620 ความดันรวม 0:14:38.620,0:14:41.070 คุณอาจบอกว่า เฮ่ แซล คุณเพิ่งหา 0:14:41.070,0:14:42.130 ความดันบนด้านนี้ 0:14:42.130,0:14:43.960 แล้วความดันบนด้านนั้น และด้านนั้น 0:14:43.960,0:14:45.730 และด้านนั้น หรือ บนทุกๆด้านของลูกบาศก์หละ 0:14:45.730,0:14:46.850 ความดันบนทุกๆด้านของ 0:14:46.850,0:14:48.250 ลูกบาศก์มีค่าเท่ากัน 0:14:48.250,0:14:50.530 ดังนั้น สิ่งเดียวที่เราต้องทำคือหาในรูปของความดันบน 0:14:50.530,0:14:52.420 ด้านด้านหนึ่ง และนั่นก็คือความดันของ 0:14:52.420,0:14:54.480 ระบบ 0:14:54.480,0:14:55.590 แล้วเราจะทำอะไรกับมันได้อีก 0:14:55.590,0:15:00.700 เรารู้ว่า pv เท่ากับ nRT จากกฎของแก๊ส 0:15:00.700,0:15:06.475 pv เท่ากับ nRT เมื่อนี่คือจำนวนโมลของแก๊ส 0:15:06.475,0:15:08.410 และนี่คือค่าคงที่ของแก๊ส 0:15:08.410,0:15:10.240 นี่คืออุณหภูมิในหน่วยเคลวิน 0:15:10.240,0:15:12.880 ถ้าเราแทนค่าเข้าไป เราจะพูดได้ว่า 0:15:12.880,0:15:17.140 พลังงานภายในสามารถเขียนได้เป็น 3/2 เท่า 0:15:17.140,0:15:20.500 ของจำนวนโมลที่เรามี คูณค่าคงที่ของแก๊ส คูณ 0:15:20.500,0:15:22.290 กับอุณหภูมิ 0:15:22.290,0:15:24.560 ผมเขียนอธิบายมาเยอะ แล้วมันค่อนข้างจะเป็นการคำนวณ 0:15:24.560,0:15:27.780 แต่ผลเหล่านี้น่าสนใจ 0:15:27.780,0:15:30.140 เพราะตอนนี้ คุณได้พบความสัมพันธ์โดยตรง 0:15:30.140,0:15:32.860 ถ้าคุณรู้ความดันและปริมาตร คุณก็รู้ 0:15:32.860,0:15:37.530 ค่าจริงของพลังงานภายใน หรือพลังงานจลน์ทั้งหมด 0:15:37.530,0:15:38.660 ของระบบ 0:15:38.660,0:15:41.350 หรือถ้าคุณรู้อุณหภูมิและจำนวน 0:15:41.350,0:15:44.320 โมเลกุลที่คุณมี คุณก็รู้พลังงานภายใน 0:15:44.320,0:15:45.630 ของระบบ 0:15:45.630,0:15:48.520 มีความรู้สองอย่างที่ผมอยากให้คุณได้ไป 0:15:48.520,0:15:52.070 ถ้าอุณหภูมิไม่เปลี่ยนในสถานการณ์อุดมคติของเรา 0:15:52.070,0:15:56.930 ถ้า เดลต้า T เท่ากับ 0 ถ้ามันไม่เปลี่ยน 0:15:56.930,0:15:58.680 จำนวนของอนุภาคก็จะไม่เปลี่ยน 0:15:58.680,0:16:04.750 แล้วพลังงานภายในก็จะไม่เปลี่ยนเช่นเดียวกัน 0:16:04.750,0:16:07.030 ดังนั้น ถ้าเราพูดว่ามีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายใน 0:16:07.030,0:16:10.790 และผมจะใช้มันในการพิสูจน์ในอนาคต เราพูดได้ว่า 0:16:10.790,0:16:16.360 มันเท่ากับ 3/2 คูณ nR คูณ... สิ่งเดียว 0:16:16.360,0:16:18.850 ที่เปลี่ยนได้ ไม่ใช่จำนวนโมเลกุลหรือ 0:16:18.850,0:16:21.350 ค่าคงที่ของแก๊ส... คูณการเปลี่ยนแปลงของ T 0:16:21.350,0:16:27.000 มันเขียนได้อีกแบบในรูป 3/2 คูณการเปลี่ยนแปลงของ pv 0:16:27.000,0:16:28.450 เราไม่รู้ว่าค่าทั้งสองนี้เป็นค่าคงที่หรือไม่ 0:16:28.450,0:16:30.520 เราจึงพูดว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงของผลคูณ 0:16:30.520,0:16:32.780 อย่างไรก็ตาม นี่ค่อนไปทางการคำนวณ 0:16:32.780,0:16:34.050 และผมขอโทษ 0:16:34.050,0:16:36.840 แต่ผมหวังว่ามันจะทำให้คุณเข้าใจมากขึ้นว่า 0:16:36.840,0:16:39.300 นี่เป็นเพียงแค่ผลรวมของพลังงานจลน์ทั้งหมด 0:16:39.300,0:16:42.420 เราเชื่อมมันกับตัวแปรต่างๆของสภาวะในระบบ 0:16:42.420,0:16:44.590 เช่น ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิ 0:16:44.590,0:16:47.640 และตอนนี้ เนื่องจากผมได้ทำวิดีโอเกี่ยวกับมันแล้ว เราสามารถ 0:16:47.640,0:16:50.990 ใช้ผลนี้ในการพิสูจน์ครั้งต่อๆไป 0:16:50.990,0:16:53.220 หรืออย่างน้อย คุณจะไม่บนมากเกินไปถ้าผมใช้มัน 0:16:53.220,0:16:55.150 อย่างไรก็ตาม เจอกันในวิดีโอต่อไป