Return to Video

การเชื่อมโยงระหว่างเสือปลาและการอนุรักษ์ป่าชายเลน

  • 0:01 - 0:03
    (เลียนเสียงเสือปลา)
  • 0:05 - 0:06
    ที่ผมเลียนแบบไป
  • 0:06 - 0:08
    คือเสียงของเสือปลา
  • 0:08 - 0:10
    เสียงจริงๆของมัน
  • 0:10 - 0:13
    เหมือนแบบนี้มากครับ
  • 0:13 - 0:15
    (เสียงเสือปลาที่อัดไว้ก่อนหน้า)
  • 0:17 - 0:18
    มันคือแมว
  • 0:19 - 0:21
    ที่รักแม่น้ำ
  • 0:21 - 0:22
    ชอบจับปลา
  • 0:22 - 0:25
    และอาศัยอยู่ตามระบบนิเวศที่มีเอกลักษณ์
  • 0:25 - 0:28
    และมีค่าที่สุดบนโลก
  • 0:28 - 0:30
    คือตามแหล่งน้ำและป่าชายเลน
  • 0:30 - 0:32
    ของเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 0:32 - 0:34
    พวกมันไม่ได้จับปลายอดเยี่ยมหรอกหรือ
  • 0:34 - 0:36
    (เสียงหัวเราะ)
  • 0:36 - 0:39
    เสือปลาคือหนึ่งใน 40 สายพันธุ์ของแมวป่า
  • 0:39 - 0:41
    เหมือนเสือและสิงโต
  • 0:41 - 0:42
    แต่แค่เล็กกว่ามากเท่านั้น
  • 0:42 - 0:46
    พวกมันน่าจะมีขนาดเท่ากับแมวบ้านมาตรฐาน
    ของเราประมาณสองเท่า
  • 0:46 - 0:47
    ในประเทศอินโดนีเซีย
  • 0:48 - 0:50
    ผู้คนเรียกพวกมันว่า
    กูชิง บากาว ("kucing bakau")
  • 0:50 - 0:53
    แปลตามตัวหมายถึง
    “แมวแห่งป่าชายเลน”
  • 0:53 - 0:57
    แต่ผมชอบเรียกว่า
    เสือแห่งป่าชายเลน
  • 0:57 - 0:58
    ตอนนี้
  • 0:58 - 1:01
    เราไม่รู้จักเสือปลาดีเหมือนที่
    ไม่รู้จักเสือดีนั่นแหละ
  • 1:01 - 1:03
    แต่ที่เราได้รู้มาคือแมวพวกนี้
  • 1:03 - 1:05
    อาจเป็นสายพันธุ์หลักๆ
  • 1:05 - 1:08
    ที่ต่อชีวิตระบบนิเวศสำคัญทั่วโลกได้
  • 1:08 - 1:11
    และเป็นเหยื่อที่ยึดติด
  • 1:11 - 1:14
    กับสายเอ็นที่แข็งแกร่งของระบบนิเวศ
  • 1:14 - 1:15
    พวกคุณโดนตกกันยังครับ?
  • 1:15 - 1:17
    (เสียงหัวเราะ)
  • 1:17 - 1:19
    เช่นเดียวกับสัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์จำนวนมาก
  • 1:19 - 1:22
    เสือปลาถูกคุกคามจากการสูญเสียถิ่นที่อยู่
  • 1:22 - 1:24
    หลักๆเพราะอุปสงค์ระหว่างประเทศ
  • 1:24 - 1:26
    ของปลาที่เลี้ยงในฟาร์มและกุ้ง
  • 1:26 - 1:30
    และการตัดไม้เกือบครึ่ง
    ที่ครอบคลุมพื้นที่ป่าชายเลนดั้งเดิม
  • 1:30 - 1:33
    ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 1:33 - 1:34
    ในอีกมุมหนึ่ง ป่าชายเลน
  • 1:34 - 1:37
    เป็นมากกว่าถิ่นที่อยู่ของเสือปลา
  • 1:37 - 1:41
    ป่าชายเลนเป็นบ้านให้สิ่งมีชีวิตที่แสนวิเศษ
  • 1:41 - 1:42
    เช่น หมาแจ็คคัล
  • 1:42 - 1:44
    เต่า
  • 1:44 - 1:46
    นกชายเลน
  • 1:46 - 1:48
    และพวกนาก
  • 1:48 - 1:50
    ( เสียงหัวเราะ )
  • 1:50 - 1:52
    ป่าชายเลนยังป้องกันการกัดเซาะหน้าดิน
  • 1:52 - 1:56
    และสามารถเป็นด่านแรกของแนวป้องกัน
    ระหว่างคลื่นพายุซัดฝั่ง
  • 1:56 - 1:57
    สึนามิ
  • 1:57 - 2:00
    และผู้คนนับล้าน
    ที่อาศัยอยู่ข้างๆป่าเหล่านี้
  • 2:00 - 2:02
    ให้แต่ละวันอยู่รอดได้
  • 2:03 - 2:07
    อีกประโยชน์หนึ่งคือ
  • 2:07 - 2:09
    ป่าชายเลนสามารถกักเก็บ
  • 2:09 - 2:14
    ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากกว่า
    ป่าเขตร้อน 5 ถึง 10 เท่า
  • 2:15 - 2:17
    ดังนั้นการคุ้มครองป่าชายเลน 1 เอเคอร์
  • 2:17 - 2:18
    อาจดีเท่ากับ
  • 2:18 - 2:22
    การคุ้มครองพื้นที่ป่าเขตร้อนถึง 5 เอเคอร์
  • 2:23 - 2:24
    คุณอยากกำจัด
  • 2:24 - 2:27
    รอยเท้าคาร์บอนออกไปจากทั้งชีวิตคุณไหม
  • 2:27 - 2:28
    ถ้างั้น
  • 2:28 - 2:29
    ป่าชายเลนสามารถให้
  • 2:29 - 2:30
    ข้อเสนอที่คุ้มค่า
  • 2:30 - 2:32
    คุ้มราคาการอนุรักษ์ที่สุดกับคุณครับ
  • 2:34 - 2:35
    การตัดไม้ทำลายป่า
  • 2:35 - 2:37
    การสูญพันธุ์และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
  • 2:37 - 2:40
    คือปัญหาระดับโลกทั้งหมด
    ที่เราสามารถแก้ไขได้
  • 2:40 - 2:43
    ด้วยการให้คุณค่าสิ่งมีชีวิต
    และระบบนิเวศของเรา
  • 2:43 - 2:46
    และด้วยการทำงานร่วมกันกับคนในพื้นที่
  • 2:46 - 2:48
    ที่อาศัยอยู่ข้างๆระบบนิเวศนั้นๆ
  • 2:48 - 2:50
    นี่คือ1ใน3 ของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
  • 2:50 - 2:52
    ทางชายฝั่งอินเดียใต้
  • 2:52 - 2:54
    ที่ที่ชุมชนมารวมกัน
  • 2:54 - 2:56
    เพื่อเปลี่ยนโฉมหน้า
  • 2:56 - 2:59
    และอาจเปลี่ยนชะตากรรมของโลกใบนี้
  • 2:59 - 3:00
    ในเวลาไม่ถึงหนึ่งทศวรรษ
  • 3:00 - 3:02
    ด้วยการสนับสนุนระหว่างประเทศ
  • 3:02 - 3:04
    หน่วยงานป่าไม้ของรัฐ
  • 3:04 - 3:06
    และชุมชนท้องถิ่น
  • 3:06 - 3:08
    ร่วมมือกันฟื้นฟู
  • 3:08 - 3:12
    พื้นที่ฟาร์มกุ้งและเลี้ยงปลาไร้ประโยชน์
    มากกว่า 20,000 เอเคอร์
  • 3:13 - 3:16
    ให้กลับไปเป็นป่าชายเลน
  • 3:16 - 3:18
    ราว 5 ปีก่อน
  • 3:18 - 3:20
    ให้ทายว่าเราพบใคร
  • 3:20 - 3:23
    ในป่าชายเลนที่ได้รับการฟื้นฟูเหล่านี้
  • 3:25 - 3:27
    เมื่อเราแชร์ภาพเสือปลาพวกนี้
  • 3:27 - 3:29
    กับคนในพื้นที่
  • 3:29 - 3:32
    เราได้สร้างความภาคภูมิใจให้พวกเขา
  • 3:32 - 3:35
    เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์
    และระบบนิเวศอันเป็นที่นับถือทั่วโลก
  • 3:35 - 3:37
    ในสนามหลังบ้านพวกเขานี่เอง
  • 3:37 - 3:40
    เราได้สร้างความเชื่อใจให้กับบางคน
  • 3:40 - 3:43
    เพื่อช่วยพวกเขาดำเนินวิถีชีวิตทางเลือก
  • 3:43 - 3:45
    พบกันซานโตช
    เด็กชายวัย 19 ปี
  • 3:45 - 3:48
    เขาไม่ได้กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญ
    การอนุรักษ์อย่างเดียว
  • 3:48 - 3:50
    หลังจากทำงานกับเรามานานกว่าหนึ่งปี
  • 3:50 - 3:53
    แต่เขายังมีส่วนร่วมกับชาวประมงท้องถิ่น
    หลายคน
  • 3:53 - 3:56
    ในการช่วยศึกษาและปกป้องเหล่าเสือปลา
  • 3:57 - 3:58
    พบกับโมชิ
  • 3:58 - 4:00
    ผู้ลักลอบล่าสัตว์ชนเผ่า
  • 4:00 - 4:01
    เขาไม่เพียงเลิกล่าสัตว์
  • 4:01 - 4:04
    และยังกลายมาเป็นสมาชิก
    นักอนุรักษ์ทรงคุณวุฒิ
  • 4:04 - 4:06
    แต่เขายังเคยใช้ความรู้เดิม
  • 4:06 - 4:10
    มาสอนชุมชนทั้งหมดของเขาให้เลิกฆ่าเสือปลา
  • 4:10 - 4:11
    นาก
  • 4:11 - 4:16
    และสัตว์เสี่ยงสูญพันธุ์อื่นๆ
    ที่อาศัยตามป่าชายเลนหลังบ้านเขา
  • 4:16 - 4:19
    เกษตรกรเลี้ยงกุ้งและปลา
    อย่างคุณเวนกาต
  • 4:19 - 4:22
    ตอนนี้เต็มใจทำงานกับเรา
    นักอนุรักษ์ธรรมชาติ
  • 4:22 - 4:25
    เพื่อทดสอบการประมงที่ยั่งยืน
    ในระบบนิเวศ
  • 4:25 - 4:29
    อย่างพวกปู
    และบางทีกระทั่งน้ำผึ้งจากป่าชายเลน
  • 4:29 - 4:32
    แรงจูงใจที่ทำให้พวกเขาหันมาปกป้อง
  • 4:32 - 4:36
    และปลูกป่าชายเลน
    ป่าที่เคยถูกทำลาย
  • 4:36 - 4:38
    มีแต่ ได้-ได้-ได้
  • 4:38 - 4:40
    นั่นคือเสือปลาสุขใจ
    คนในพื้นที่อุ่นใจ
  • 4:40 - 4:43
    และประชาคมโลกสบายอุรา
  • 4:43 - 4:47
    เรื่องทั้งหมดนี้ฉายชัดว่าเราทุกคน
    สามารถเป็นส่วนหนึ่งของอนาคตได้
  • 4:47 - 4:50
    สถานที่ที่เสือปลา
    และป่าชายเลนที่ถูกทำลาย
  • 4:50 - 4:52
    ได้รับการปกป้องและฟื้นฟู
  • 4:52 - 4:54
    จากตัวชาวประมงเอง
  • 4:54 - 4:56
    การกักเก็บคาร์บอนฯ
  • 4:56 - 5:00
    ที่สามารถช่วยทดแทน
    รอยเท้าทางนิเวศน์ของเรา
  • 5:00 - 5:04
    ดังนั้นขณะที่เรื่องเสือปลาอาจดูเล็ก
  • 5:04 - 5:07
    ผมหวังว่าพวกเราสามารถช่วยทำให้มัน
    เป็นเรื่องใหญ่ได้
  • 5:07 - 5:09
    เป็นสิ่งที่เราทั้งหมดสามารถลงทุนได้
  • 5:09 - 5:12
    เพื่อช่วยรักษาสิ่งมีชีวิตบนโลกของเรา
  • 5:12 - 5:14
    ให้ดำรงอยู่ต่ออีกหน่อย
  • 5:14 - 5:16
    หรือตามที่เพื่อนของเราได้กล่าวไว้ตรงนี้
  • 5:17 - 5:20
    (เสียงเสือปลา)
  • 5:20 - 5:21
    ขอบคุณครับ
  • 5:21 - 5:26
    (เสียงปรบมือ)
Title:
การเชื่อมโยงระหว่างเสือปลาและการอนุรักษ์ป่าชายเลน
Speaker:
Ashwin Naidu
Description:

ป่าชายเลนเป็นป่าที่สำคัญต่อสุขภาพของโลก เพราะป่าชายเลนทั้งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศและเป็นบ้านให้สิ่งมีชีวิตหลายชนิด แหล่งที่อยู่อุดมสมบูรณ์เหล่านี้อยู่ภายใต้การคุกคามจากการตัดไม้ทำลายป่าและโรงงานอุตสาหกรรมตลอดมา ในการพูดที่มีพลัง นักอนุรักษ์ธรรมชาติ Ashwin Naidu ได้แชร์ถึงความพยายามที่ขับเคลื่อนด้วยชุมชนกำลังปฏิบัติงานเพื่อปกป้องป่าชายเลนอย่างไรในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และรวมถึงการช่วยเพียงน้อยนิดจากเสือปลาใกล้สูญพันธุ์และลึกลับนี่ด้วย

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TEDTalks
Duration:
05:39

Thai subtitles

Revisions