-
Title:
-
Description:
-
ยังคงมีกฎหมายที่ไม่ยุติธรรม:
เราควรยอมปฏิบัติตามกฎหมายนั้น
หรือพยายามแก้ไข
และปฏิบัติตามไปจนกว่าจะแก้สำเร็จ
หรือควรปฏิเสธไม่ปฏิบัติตามกฎหมายนั้นทันที
เฮนรี เดวิด ทอโร
-
ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์ข่าว บันเทิง และสังคม "เรดดิต" เสียชีวิตแล้ว
-
เขาเป็นอัจฉริยะแน่นอน แม้ว่าจะไม่เคยคิดว่าตัวเองเป็น
-
เขาไม่ตื่นเต้นเอาซะเลย
-
ที่จะทำธุรกิจหรือปั๊มเงิน
-
ค่ำคืนนี้ ผู้คนในฮอลแลนด์พาร์ค บ้านเกิดของแอรอน ชวาร์ทส รู้สึกถึงการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่
-
ขณะที่คนใกล้ชิดกล่าวอำลาผู้ส่องแสงสว่างเจิดจ้าที่สุดคนหนึ่งของอินเตอร์เน็ต
-
นักกิจกรรมด้านอิสรภาพ การเปิดกว้างข้อมูล และคอมพิวเตอร์ ต่างอาลัยกับการสูญเสียเขา
-
"คนเก่งที่น่าทึ่ง" หากคุณพูดกับคนที่รู้จักเขา
-
เขาถูกรัฐบาลฆ่า ส่วนเอ็มไอทีก็ทรยศต่อหลักการพื้นฐานทั้งหมดของตัวเอง
-
พวกเขาต้องการให้แอรอนเป็นกรณีตัวอย่าง
-
รัฐบาลต้องการควบคุมไม่มีที่่สิ้นสุด
-
แอรอนมีโอกาสถูกจำคุก 35 ปีและถูกปรับ 1 ล้านเหรียญ
-
ความกระหายที่จะดำเนินคดี ซึ่งผมอยากจะใช้คำว่า "ประพฤติมิชอบ" ด้วยซ้ำ
-
แล้วคุณได้ผลสรุปจากการสอบสวนเรื่องนี้หรือยัง
-
ตอนที่กำลังโต ผมรู้สึกว่าสิ่งที่ผู้คนทั้งหลายรอบตัวบอกผม
-
ว่าเป็นเรื่องธรรมดา ที่ทุกอย่างเป้นอย่างนี้ หรือควรเป้นอย่างนี้
-
เป้นเรื่องที่ไม่เป็นธรรมชาติเลย เราเปลี่ยนมันได้
-
และที่สำคัญยิ่งกว่า คือ มีเรื่องที่ผิดและสมควรเปลี่ยน
-
เมื่อผมเข้าใจตรงนี้ ก็ไม่่มีการหันหลังกลับต่อไป
-
-
ขอต้อนรับสู่ช่วงเวลาอ่านหนังสือ
-
หนังสือเล่มนี้ชื่อ "หมีแพดดิ้งตันที่งานวัด"
-
เขาเกิดและโตที่ไฮแลนด์พาร์ค
-
แอรอนมาจากครอบครัวพี่น้องผู้ชาย 3 คน ทุกคนฉลาดล้ำ
-
"...กล่องคว่ำแล้ว..."
-
[เด็กๆ ร้องลั่น]
-
เราไม่ใช่เด็กเรียบร้อยเท่าไหร่
-
ก็..เด็กผู้ชาย 3 คน วิ่งวนไปมา ชนนี่ เตะโน่น...
-
"เฮ้ย...อย่า อย่า อย่า"
-
-แอรอน
-หือ
-
แต่ผมรู้ในเวลาต่อมาว่าแอรอนรู้ว่าจะเรียนรู้ยังไงตอนเป็นเด็กเล็ก
-
"1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10!"
-
-ป๊อก ป๊อก!
-ใครน่ะ
-
-แอรอน
-ใครล่ะ แอรอน
-
-แอรอน ดาวตลก
-
เขารู้ตัวว่าต้องการอะไรและอยากทำสิ่งนั้น
-
และมักทำสิ่งที่ต้องการจนสำเร็จ
-
เขาอยากรู้อยากเห็นไม่รู้จบ
-
"นี่คือรูปดาวเคราะห์ แต่ละดวงจะมีสัญลักษณ์"
-
สัญลักษณ์ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส...
-
วันหนึ่ง เขาถามซูซาน "ความบันเทิงฟรีสำหรับครอบครัว กลางเมืองไฮแลนด์พาร์ค หมายความว่าอะไร"
-
"ความบันเทิงฟรีสำหรับครอบครัว กลางเมืองไฮแลนด์พาร์ค"
-
เขาแค่ 3 ขวบเองตอนนั้น
-
เธอถามว่า "ลูกกำลังพูดถึงอะไร"
-
แอรอนตบอก "นี่ไง มันเขียนไว้ตรงตู้เย็น"
-
"ความบันเทิงฟรีสำหรับครอบครัว กลางเมืองไฮแลนด์พาร์ค"
-
เธออึ้งไปเลย ได้แต่งง ว่าเขาอ่านหนังสือออก
-
นี่คือ "งานเลี้ยงเซเดอร์ของครอบครัวฉัน"
-
"คืนที่มีงานเซเดอร์ต่างจากคืนอื่น"
-
ผมจำได้ มีอยู่่ครั้งหนึ่ง เราอยู่ที่ห่้องสมุดของมหาวิทยาลัยชิคาโก
-
ผมดึงหนังสือออกมาจากหิ้ง หนังสือตั้งแต่ปี 1900
-
เอาให้เขาดู พลางบอกว่า "ห้องสมุดนี่เจ๋งจริงๆ"
-
เราต่างเป็นเด็กอยากรู้อยากเห็น แต่แอรอนชอบเรียนรู้และชอบสอนมาก
-
"...เราจะอ่านเอบีซีจากหลังไปหน้า"
-
"แซด, วาย, เอ็กซ์, ดับบลิว, วี, ยู, ที..."
-
ผมจำได้ เขากลับมาจากเรียนพีชคณิตครั้งแรก
-
เขาพูดว่า "โนอา ฉันจะสอนพีชคณิตนาย"
-
ผมได้แต่ถาม "แล้วพีชคณิตนี่มันอะไร"
-
เขาเป็นอย่างนี้เสมอ
-
"คราวนี้ กดปุ่มคลิก นั่นไง แล้วมันจะเป็นอย่างนี้"
-
"ตอนนี้เป็นสีชมพูแล้ว"
-
ตอนเขาอายุ 2 หรือ 3 ขวบ บ๊อบสอนให้เขารู้จักคอมพิวเตอร์ครั้งแรก
-
เขาคลั่งใคล้มันมาก
-
[พูดแบบเด็ก]
-
เราทุกคนมีคอนพิวเตอร์ แต่แอรอนคลั่งคอมพ์และอินเตอร์เน็ตมาก
-
-เล่นคอมพิวเตอร์เหรอ
-ไม่อ่ะ
-
"แม่ครับ...ทำไมมันไม่ทำงานครับ"
-
เขาเริ่มเขียนโปรแกรมตั้งแต่เด็ก
-
ผมจำได้ โปรแกรมแรกที่ผมเขียนกับเขาเป็นภาษาเบสิก
-
เป็นเกมคำถาม-ตอบเกี่ยวกับหนังเรื่องสตาร์วอร์
-
เรานั่งด้วยกันที่ชั้นใต้ดิน ที่ๆ เราตั้งคอมพิวเตอร์
-
เขียนโปรแกรมด้วยกัน 4 ชั่วโมง
-
ปัญหาที่ผมมีกับเขาคือสำหรับผม ไม่เห็นมีอะไรที่ผมอยากทำให้เสร็จ
-
แต่เขาต้องทำอะไรบางอย่างเสมอ
-
มีอะไรบางอย่างทุกครั้งที่โปรแกรมจะแก้ไขได้
-
แอรอนเห็นว่าการเขียนโปรแกรมเป็นสิ่งมหัศจรรย์
-
คุณทำเรื่องพวกนี้ได้ เรื่องที่คนธรรมดาทำไม่ได้
-
แอรอนสร้างตู้เอทีเอ็มด้วยเครื่องแมคอินทอชและกล่องกระดาษ
-
วันฮาโลวีนปีนึง ผมไม่รู้ว่าจะแต่งเป็นตัวอะไรดี
-
เขาคิดว่ามันจะฟินมากถ้าผมแต่งเป็นคอมพ์ตัวใหม่เครื่องโปรดของเขา
-
ซึ่งตอนนั้น คือไอแมค รุ่นแรก
-
คือ เขาไม่ชอบแต่งตัวในวันฮาโลวีน แต่ชอบให้คนอื่น
-
แต่งเป็นตัวที่เขาอยากดู
-
"พิธีกรคุณแอรอน หยุด หยุด น่าน.. มองกล้องหน่อย!"
-
"สไปเดอร์แมนมองกล้อง"
-
เขาสร้างเว็บไซต์นี้ ชื่อ "ดิอินโฟ" ให้คนกรอกข้อมูลถ้าต้องการ
-
ผมรู้ว่ามีใครสักคนที่รู้เรื่องทอง เรื่องทองคำเปลว
-
ทำไมไม่มีใครเขียนเรื่องนี้ในเว็บนี้ คนอื่นที่เข้ามา
-
จะได้อ่าน และแก้ไขหากเขาคิดว่ามันแย่
-
ไม่ต่างจากวิกิพีเดียเลย ใช่ไหม
-
และนี่คือยุคก่อนมีวิกิพีเดีย พัฒนาโดยเด็กอายุ 12
-
ในห้องเขา ด้วยตัวเอง ด้วยเซิร์ฟเวอร์ตัวเล็ก เทคโนโลยียุคหิน
-
และนี่คือปฏิกิริยาของครูคนหนึ่ง
-
"เป็นความคิดที่แย่มาก เธอไม่ควรให้ใครก็ได้มาเขียนสารานุกรม"
-
ที่เราต้องมีนักวิชาการก็เพื่อเขียนหนังสือให้เราอ่าน
-
เธอมีความคิดแย่ๆ นี่ได้ไง"
-
ผมกับน้องชายอีกคนพูดว่า "เอ่อ วิกิพีเดียก็เท่อยู่นะ แต่...."
-
"เรามีอย่างนี้ในบ้านตั้งแต่ 5 ปีที่แล้ว"
-
เว็บไซต์ของแอรอน คือ theinfo.org ได้รับรางวัลระดับโรงเรียน
-
ในการแข่งขันที่จัดโดย ArsDigita บริษัทออกแบบเว็บในเคมบริดจ์
-
เรายกขบวนไปเคมบริดจ์กันตอนเขาได้รางวัล ArsDigita
-
ไม่รู้เลยว่าแอรอนกำลังทำอะไรอยู่
-
แต่ที่เห็นได้ชัดคือรางวัลนี้สำคัญมาก
-
ไม่นาน แอรอนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนคนเขียนโปรแกรมออนไลน์
-
ซึ่งขณะนั้นอยู่ระหว่างการคิดค้นเครื่องมือใหม่ให้กับเว็บ
-
เขาเดินมาหาผมและบอกว่า "เบน ฉันกำลังทำงานอย่างหนึ่งที่สุดยอดมากๆ"
-
"นายต้องอยากรู้ว่ามันคืออะไร"
-
"เอาสิ แล้วมันคืออะไรล่ะ"
-
"เราเรียกว่า RSS"
-
เขาอธิบายให้ผมฟังว่า RSS คืออะไร
ผมถาม "แล้วมีประโยชน์ยังไงล่ะ"
-
"มีไซต์ไหนที่ใช้ RSS แล้วทำไมฉันต้องใช้ไอ้นี้ด้วย"
-
มีรายชื่อเมล์ของคนที่ทำงาน RSS และ XML
-
หนึ่งในนั้น มีคนชื่อแอรอน สวาร์ทช ซึ่งสู้ไม่ถอยและฉลาดมาก
-
เป็นคนมีไอเดียเจ๋งๆ เยอะ
-
แต่ไม่เคยเข้าประชุมตัวเป็นๆ เลย มีคนถามว่า
-
"เมื่อไรจะไปร่วมประชุมแบบคุยกันตรงๆ ซักทีล่ะ"
-
เขาตอบว่า "แม่คงไม่ยอม เพราะผมเพิ่ง 14"
-
ปฏิกิริยาแรกของคนพวกนี้คือ "คนนี้ เพื่อนคุณน่่ะ คนที่เราทำงานด้วยทั้งปี
-
เขาอายุ 13 ตอนเราทำงานด้วยกัน ตอนนี้ เขาแค่ 14 เอง"
-
ปฏิกิริยาที่ 2 ของพวกเขาคือ
-
"พระเจ้าช่วย เราอยากรู้จักเขาจริง ๆ สุโค่ย"
-
แอรอนเป็นหนึ่งในคณะกรรมการผู้ร่าง RSS
-
สิ่งที่เขาทำคือช่วยสร้างโครงร่างให้กับไฮเปอร์เท็กซ์แบบใหม่
-
RSS ที่เขาคิดค้นเป็นเครื่องมือช่วยให้เราได้บทสรุป
-
ของเรื่องราวบนหน้าเว็บอื่น
-
ที่ใช้กันทั่วไปที่สุด คือการใช้ RSS กับบล็อก
-
คุณมีบล็อกของคน 10-20 คนที่อยากอ่าน
-
เราก็แค่ใช้ RSS ฟีด ซึ่งจะสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นบนหน้าเว็บอื่น
-
และเรียงลำดับเรื่องทั้งหมดที่เกิดขึ้น
-
แอรอนยังเด็กมาก แต่เข้าใจเทคโนโลยีและเห็นว่ามันยังไม่สมบูรณ์
-
เขามองหาหนทางทำให้ดีขึ้น
-
แม่เขาจึงส่งตัวแอรอนขึ้นเครื่องจากชิคาโก เราไปรับเขาที่ซานฟรานซิสโก
-
เราแนะนำแอรอนกับคนที่อยากจะโต้กับเขา และก็ได้แต่ทึ่งกับนิสัยการกินยอดแย่ของเขา
-
แอรอนกินอาหารสีขาวเท่านั้น เข่น ข้าวสวย ไม่เอาข้าวผัดนะ เพราะยังไม่ขาวพอ
-
ขนมปังขาว และอื่นๆ...
-
แต่คุณได้แต่ทึ่งกับการโต้ตอบที่เกิดขึ้น
-
จากสิ่งที่ดูเหมือนจะออกจากปากของเด็กผู้ชายตัวเล็กๆ
-
แล้วคุณก็คิดว่า เด็กคนนี้ต้องไปถึงไหนๆ สักแห่งแน่ หากไม่ตายไปซะก่อนเพราะไม่ยอมกินผักผลไม้
-
แอรอน ถึงตาคุณแล้ว
-
ผมคิดว่าความแตกต่างก็คือคุณไม่สามารถตั้งบริษัทแบบดอทคอม
-
คุณไม่สามารถตั้งบริษัทที่ตั้งขึ้นมาเพื่อแค่ขายอาหารหมาทางอินเตอร์เน็ตหรือทางโทรศัพท์
-
มีนวัตกรรมหลายอย่างเกิดขึ้นในขณะนี้
-
ผมคิดว่าถ้าคุณมองไม่เห็นนวัตกรรมนี้ เป็นไปได้ว่าหัวคุณกำลังจมปลักอยู่ในกองทราย
-
เขาพูดด้วยบุคลิกภาพแบบพวกเนิร์ดที่ก้าวร้าว เหมือนจะบอกว่า
-
"ฉันฉลาดกว่าคุณ และเพราะฉันฉลาดกว่าคุณ ฉันก็เลยดีกว่าคุณ
-
ฉันจึงบอกคุณได้ว่าต้องทำอะไร"
-
ยังกะว่าเป็นอีกภาคหนึ่งของเขาที่เป็นคนขี้รำคาญ
-
คุณเอาคอมพิวเตอร์พวกนี้มารวมกัน ตอนนี้ มันกำลังแก้ปัญหาใหญ่ๆ
-
เช่น มองหามนุษย์ต่างดาวหรือหาทางรักษามะเร็ง
-
ผมพบเขาครั้งแรกใน IRC ซึ่งเป็นห้องแชทรูมทางอินเตอร์เน็ต
-
แอรอนไม่เพียงแต่เขียนรหัส แต่ยังทำให้เราตื่นเต้นด้วยการแก้ปัญหาที่มี
-
เขาเป็นตัวเชื่อมต่อ
-
การทำงานแบบเปิดกว้างได้อะไรเยอะจากพลังของเขา
-
ผมคิดว่าแอรอนพยายามทำให้โลกใบนี้มันโอเค เขาพยายามแก้ปัญหาโลก
-
เขามีบคุลิกภาพที่แข็งซึ่งก็ย่อมทำให้ผู้คนไม่พอใจบ้าง
-
แต่เขาเองก็ใช่ว่าจะรู้สึกลื่นไหลไปกับโลกใบนี้เสมอไป
-
และโลกก็ไม่ได้ไหลลื่นไปกับเขาในทุกกรณี
-
เมื่อถึงเวลาไปโรงเรียนมัธยม เขารู้สึกเบื่อโรงเรียนสุดๆ
-
เขาไม่ชอบโรงเรียนเอาซะเลย ไม่ชอบวิชาที่สอนสักวิชา ไม่ชอบครู
-
แอรอนรู้จริงว่าจะเอาข้อมูลมาได้อย่างไร
-
เขาจะพูดว่า "ฉันไม่จำเป็นต้องไปหาครูคนนี้เพื่อเรียนวิธีทำเรขาคณิต"
-
ฉันอ่านแค่หนังสือเรขาคณิตก็พอแล้ว
-
และฉันไม่จำเป็นต้องไปเรียนประวัติศาสตร์อเมริกันแง่มุมนี้กับครูคนนี้
-
เขาจะพูดว่า ฉันมีประวัติศาตร์ 3 ฉบับในมือ แค่อ่านทั้งหมดก็พอ
-
และฉันไม่สนใจเรื่องพวกนี้ ฉันสนใจเว็บ
-
ผมหงุดหงิดกับโรงเรียนมาก ผมคิดว่าครูไม่รู้ว่าเขากำลังพูดอะไร
-
พวกเขาต้องการอยู่เหนือเรา ควบคุมเรา การบ้านก็เป็นเรื่องหลอกลวงทั้งเพ
-
เขาล้อมเราไว้ในคอกด้วยกันและบังคับให้เราทำงาน
-
ผมเริ่มอ่านหนังสือประวัติศาสตร์การศึกษา
-
และการพัฒนาระบบการศึกษา
-
รวมทั้งทางเลือกและวิธีที่ผู้คนสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างแท้จริง
-
แทนที่จะเป็นการท่องจำข้อเท็จจริงที่ครูบอก
-
ซึ่งจุดนี้เองที่ทำให้ผมเลือกตั้งคำถาม ผมตั้งคำถามโรงเรียนที่เรียน
-
สังคมที่สร้างโรงเรียน ธุรกิจที่โรงเรียนฝึกคนออกไปทำงานให้
-
ผมตั้งคำถามกับรัฐที่จัดตั้งโครงสร้างพวกนี้ทั้งหมด
-
สิ่งหนึ่งที่เขาหลงใหลมากที่สุดคือเรื่องลิขสิทธิ์ โดยเฉพาะช่วงต้นๆ
-
ลิขสิทธิเป็นภาระของธุรกิจสิ่งพิมพ์และคนอ่านเตลอดมา
-
แต่มันไม่ได้เป็นภาระจนเกินจะแบกรับ มันเป็นสถาบันที่สมเหตุผล
-
ตั้งขึ้นมาให้ผู้คนได้รับเงินจากการทำงาน
-
สิ่งที่คนในยุคของแอรอนรู้สึกคือการปะทะกันระหว่างระบบลิขสิทธิที่โบราณ
-
กับสิ่งใหม่ที่พยายามสร้างกันขึ้นมา ซึ่งก็คืออินเตอร์เน็ตและเว็บ
-
ทั้งสองอย่างเผชิญหน้ากัน เหลือไว้แต่ความโกลาหลให้เราเห็น
-
เขามีโอกาสพบลอว์เรนซ์ เลสซิก ศาสตราจารย์กฎหมายแห่งม. ฮาร์วาร์ด
-
ซึ่งท้าทายกฎหมายลิขสิทธิในศาลฎีกาขณะนั้น
-
หนุ่มน้อยแอรอนบินไปวอชิงตันเพื่อฟังการพิจารณาคดีของศาลฎีกา
-
ผมชื่อแอรอน ชาวร์ทส ผมมาที่นี่เพื่อฟังคดีแอลเดร็ด เพื่อดูว่าเอลเดร็ดใช้อะไรในการโต้
-
ทำไมคุณถึงบินจากชิคาโกมาที่นี่ คุณมาไกลขนาดนี้เพื่อมาดูว่าเขาโต้เถียงอย่างไรนะหรือ
-
คำถามนี้ตอบยากฮะ...
-
ไม่รู้สิ การได้เห็นศาลฎีกาเป็นเรื่องน่าตื่นเต้นมาก
-
โดยเฉพาะในคดีชั้นนำอย่างคดีนี้
-
เลสซิกพยายามผลักดันแนวทางใหม่ในการจำกัดความคำว่าลิขสิทธิในอินเตอร์เน็ต
-
ซึ่งเรียกว่า งานสร้างสรรค์ส่วนรวม (Creative Commons)
-
หลักการง่ายๆ ของงานสร้างสรรค์ส่วนรวม คือให้โอกาสผู้รังสรรค์งาน
-
กำหนดขอบเขตเสรีภาพที่เขาต้องการกับงานของตน
-
กล่าวคือ หากลิขสิทธิหมายถึง"สงวนสิทธิทั้งหมด" แนวคิดนี้คือ การ "สงวนแค่สิทธิบางอย่าง" เท่านั้น
-
ผมอยากได้วิธีง่ายๆ ที่จะบอกคุณได้ว่า "นี่คือวิธีที่คุณสามารถใช้งานผม
-
แม้มีอย่างอื่นที่คุณต้องขออนุญาตผมก่อนจะลงมือทำ"
-
บทบาทของแอรอนในงานนี้คือส่วนที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
-
เช่น จะออกแบบใบอนุญาตสิทธิให้มันง่ายและเข้าใจได้
-
รวมทั้งเขียนออกมาในรูปแบบที่เครื่องสามารถประมวล ได้อย่างไร
-
ผู้คนถามว่า "คุณปล่อยให้เด็กอายุ 15 กำหนดสเป็คของงานสร้างสรรค์ส่วนรวมได้อย่างไร
-
ไม่คิดเหรอว่านี่เป็นความผิดพลาด"
-
แลร์รี่จะตอบว่า "ความผิดพลาดใหญ่ที่สุดที่อาจเกิดขึ้นก็คือเราไม่ได้ฟังเสียงเด็กคนนี้"
-
ตัวเขาสูงไม่พ้นแท่นโพเดียมบนเวทีด้วยซ้ำ
-
โพเดียมเคลื่อนที่ได้ตัวนี้ ทำให้เกิดเรื่องน่าอาย
-
เพราะพอเขาเปิดหน้าจอ ทุกคนจึงมองไม่เห็นหน้าเขา
-
และถ้าคุณเข้ามาที่เว็บไซต์เรา ไปที่ "เลือกใบอนุญาตให้ใช้สิทธิ"
-
คุณจะได้รายการตัวเลือก ซึ่งจะอธิบายความหมาย คุณจะเห็นคำถามง่ายๆ 3 คำถาม
-
"คุณต้องการให้มีการให้เครดิตหรือไม่"
-
"คุณอนุญาตให้ใช้งานคุณในเชิงพาณิชย์หรือไม่"
-
"คุณอนุญาตให้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงงานของคุณหรือไม่"
-
ฉันได้แต่อึ้ง พูดไม่ออกจริงๆ ที่ผู้ใหญ่พวกนี้เห็นว่าเขาเป็นผู้ใหญ่คนนึง
-
แอรอนยืนต่อหน้าคนเต็มหอประชุม และเริ่มพูดถึง
-
เรื่องแพลทฟอร์มที่เขาสร้างขึ้นมาเพื่องานสร้างสรรค์ส่วนรวม
-
พวกเขานั่งฟังแอรอน
-
ฉันนั่งอยู่ข้างหลัง คิดว่าเขาก็แค่เด็กคนหนึ่ง ทำไมคนพวกนี้ฟังเขานะ
-
แต่พวกเขาก็ฟังแอรอน...
-
ฉันเองก็ไม่เข้าใจเรื่องทั้งหมดหรอก
-
แม้นักวิจารณ์จะบอกว่ามันไม่ได้จะทำให้ศิลปินได้รับเงินจากงานของเขาเท่าไหร่นัก
-
แต่ความสำเร็จของงานสร้างสรรค์ส่วนร่วมก็ถือว่าใหญ่มาก
-
ตอนนี้ แค่ในเว็บไซต์ Flickr เว็บเดียว คนกว่า 200 ล้านคนใช้ใบอนุญาตให้ใช้สิทธิของงานสร้างสรรค์ส่วนรวม แบบหนึ่งแบบใด
-
แอรอนใช้ความสามารถทางเทคนิคของเขา แต่เรื่องเทคนิคไม่ใช่แค่เรื่องเดียวที่เขาใส่ใจ
-
แอรอนมักเขียนในบล็อกส่วนตัวของเขาอย่างซื่อๆ ว่า:
-
ผมคิดถึงเรื่องต่างๆ อย่างลึกซึ้งและอยากให้คนอื่นทำอย่างนั้น
-
ผมทำงานเพื่อให้ได้ไอเดีย ผมเรียนรู้จากคนอื่น และไม่ต้องการแยกตัวเองจากคนอื่น
-
ผมเป้นพวกไฝ่หาความสมบูรณ์แบบ แต่ผมก็ไม่ต้องการให้เรื่องนี้ขัดขวางผมในการเผยแพร่งาน
-
ยกเว้นเรื่องการศึกษาและความบันเทิง ผมจะไม่เสียเวลา
-
กับเรื่องที่ไม่สร้างผลกระทบ
-
ผมพยายามเป็นเพื่อนกับทุกคน และผมไม่ชอบถ้าคุณไม่ปฏิบัติต่อผมอย่างจริงจัง
-
ผมไม่เจ้าคิดเจ้าแค้นเ เพราะมันไม่เกิดผลดีอะไร ผมเรียนรู้จากประสบการณ์ตัวเอง
-
ผมต้องการให้โลกนี้น่าอยู่กว่าเดิม
-
ในปี 2004 สวาร์ทช์ย้ายจากไฮแลนด์พาร์คไปเข้าเรียนที่ม.สแตนฟอร์ด
-
เขาเป็นโรคลำไส้ใหญ่อักเสบ ซึ่งก็กวนใจเขามาก เรากังวลกับการกินยาของเขา
-
เขาต้องเข้าโรงพยาบาล และต้องกินยาหลายเม็ดทุกวัน
-
เม็ดหนึ่งเป็นยาสเตอรอยด์ ซึ่งทำให้เขาไม่โต
-
และทำให้เขารู้สึกแตกต่างจากนักศึกษาคนอื่น
-
ผมคิดว่าแอรอนไปสแตนฟอร์ด ในสภาพที่พร้อมจะเรียนรู้
-
แต่กลับพบว่าตัวเองอยู่ในคอร์สที่คอยประคบประหงมเด็กมัธยมที่เก่งเกินตัว
-
ผู้ซึ่งใน 4 ปี จะเป็นผู้นำธุรกิจและคนรวย 1 เปอร์เซ็นต์บนยอดปิระมิด
-
ผมคิดว่าทั้งหมดนี้ทำให้เขาแทบคลั่ง
-
ปี 2005 แค่ปีเดียวหลังเข้ามหาวิทยาลัย
-
สวารท์สได้รับเลือกให้ทำงานในบริษัทบ่มเพาะแห่งใหม่ชื่อ Y Combinator ซึ่งนำโดยพอล เกรแฮม
-
เขาบอกว่า "ผมมีไอเดียสำหรับเว็บไซต์"
-
พอล เกรแฮม ชอบเขา และตอบว่า "ได้เลย เอาซิ"
-
แอรอนก็เลยลาออกจากมหาวิทยาลัย ย้ายเข้ามาที่อพาร์ตเมนต์นี้...
-
นี่เคยเป็นอพาร์ตเมนต์ของแอรอนตอนที่เขาย้ายมาอยู่ที่นี่
-
ผมจำได้รางๆ ว่าพ่อเคยบอกว่ามันยากเหลือเกินที่จะเช่าห้องนี้
-
เพราะแอรอนไม่มีเครดิต แถมดันเลิกเรียนมหาวิทยาลัยกลางคันซะอีก
-
แอรอนใช้ชีวิตในห้องที่ตอนนี้เป็นห้องนั่งเล่น โปสเตอร์บางรูปเป็นสิ่งที่เหลือจากที่เขาอยู่ที่นี่
-
ห้องหนังสือ...มีหนังสือมากกว่าตอนนั้น หนังสือส่วนใหญ่เป็นของแอรอน
-
ไซต์ Y Combinator ของแอรอน มีชื่อเรียกว่า "อินโฟกามิ" หมายถึงเครื่องมือในการสร้างเว็บไซต์
-
แต่อินโฟกามิ ไม่ค่อยมีคนใช้มากเท่าไหร่ สวาร์ทช์ จึงต้อง
-
ควบรวมบริษัทของเขากับโครงการบ่มเพาะของ Y Combinator อีกโครงการที่ต้องการความช่วยเหลือ
-
ซึ่งมีสตีฟ ฮัฟแมนและอเล็กซิส โอฮาเนียน เป็นหัวหน้าโครงการนี้มีชื่อว่า "เรดดิท"
-
เราเริ่มจากเกือบศูนย์ ไม่มีคนใช้ ไม่มีเงิน ไม่มีโค้ด
-
ก่อนจะค่อยๆ โตเป็นเว็บที่ผู้คนนิยมใช้
-
แถมไม่มีทีท่าจะหยุดโต
-
ตอนแรกเรามีคนใช้ 1000 คนก่อนจะเพิ่มเป็น 10000 20000 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เหลือเชื่อจริงๆ
-
เรดดิท กลายเป็นอะไรที่ใหญ่โต เป็นมุมของเด็กเนิร์ดในอินเตอร์เน็ต
-
มีอารมณ์ขันมากมาย งานศิลปะ และมีคนที่ไปที่ไซต์
-
ทำให้ไซต์นี้เป็นไซต์ที่ตัวเองต้องเปิดทุกเข้าเพื่ออ่านข่าว
-
เรดดิทเกือบ ๆ จะเป็นความโกลาหลด้วยซ้ำในบางครั้ง
-
ด้านหนึ่ง ก็เป็นที่ ๆ ผู้คนคุยเรื่องข่าว เทคโนโลยี การเมืองและประเด็นต่างๆ
-
แต่อีกด้าน ก็มีข่าวเรื่องความไม่ปลอดภัยสำหรับการทำงาน เรื่องที่ไปกระทบคนอื่น
-
-
ในแง่นี้ เรดดิทเปรียบเหมือนจุดเริ่มต้นของเรื่องที่โต้เถียง
-
คือ มันจะอยู่ตรงขอบของความโกลาหล
-
เรดดิททำให้คอนเด้ เนสต์ ยักษ์ใหญ่ด้านนิตยสารหันมามาอง
-
บริษัทยื่นข้อเสนอจะซื้อกิจการ
-
เงินจำนวนมหาศาล มากซะจนพ่อตั้งคำถามว่า
-
"จะเอาเงินนี้ไปเก็บยังไง"
-
-เยอะมาก
-เยอะจริงๆ
-
เกินล้านเหรียญมั๋ง ผมไม่ทราบจริงๆ
-
-เขาอายุเท่าไหร่ตอนนั้น
-19, 20 มั๋ง
-
ทั้งหมดเกิดในอพาร์ตเมนต์แห่งนี้ พวกเขานั่งล้อมวงบนโซฟานี้
-
แฮคเว็บเรดดิท และตอนที่ขายเรดดิทไป
-
เขาจัดปาร์ตี้ยิ่งใหญ่ ก่อนจะบินไปแคลิฟอร์เนียวันรุ่งขึ้น
-
ทิ้งกุญแจให้ผม
-
ตลกดี เขาเพิ่งขายธุรกิจที่ตัวเองปั้นขึ้นมา เราเลยคิดกันเองว่า
-
เขารวยที่สุดในหมู่คนแถวๆ นี้
-
แต่เขากลับพูดว่า"ไม่เลย ฉันขอห้องเท่ากล่องรองเท้า ฉันต้องการแค่นี้แหละ"
-
มันใหญ่กว่าห้องเก็บของนิดนึง
-
ความคิดที่ว่าเขาจะเอาเงินไปใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเป็นเรื่องไกลตัวมาก
-
เขาอธิบายอย่างนี้ "ฉันชอบอยู่ในอพาร์ตเมนต์ เลยไม่คิดจะใช้เงินซื้อที่อยู่ใหม่ ไม่คิดจะซื้อคฤหาสน์
-
และชอบใส่กางเกงยีนส์กับเสื้อยืด
-
เพราะงั้น ก็เลยจะไม่ใช้เงินกับเสื้อผ้า
-
ทั้งหมดก็เลยไม่ใช่เรื่องอะไรใหญ่โต
-
แต่เรื่องใหญ่ของสวาร์ทชคือการไหลของจราจรบนโลกอินเตอร์เน็ต
-
และสิ่งที่เรียกร้องความสนใจของเรา
-
ในระบบกระจายเสียงแบบเก่า คุณถูกจำกัดด้วยจำนวน
-
พื้นที่ว่างบนคลื่นวิทยุุ คุณส่งสารออกไปได้แค่ 10 ช่องบนคลื่นวิทยุ โทรทัศน์
-
หรือแม้แต่เคเบิล คุณก็มีแค่ 500 ช่อง
-
แต่บนอินเตอร์เน็ต ทุกคนมีช่องของตัวเอง ทุกคนมีบล็อก หรือหน้ามายสเปซ ของตัวเอง
-
ทุกคนมีหนทางจะบอกความเป็นตัวเอง
-
สิ่งที่คุณเห็นตอนนี้ ไม่ใช่ว่าใครจะเข้าถึงคลื่นกระจายเสียง
-
แต่คือใครมีอำนาจควบคุมวิธีหาคนอื่นต่างหาก
-
คุณจะเริ่มเห็นว่าอำนาจจะรวมตัวอยู่ในไซต์อย่างกูเกิ้ล ซึ่งเหมือนคนเฝ้าประตูที่คอยบอกคุณ
-
ว่าคุณต้องการไปไหนบนอินเตอร์เน็ต
-
คนที่ให้แหล่งข้อมูลและข่าวแก่คุณ
-
ดังนั้น ประเด็นจึงไม่ใช่ว่ามีบางคนมีใบอนุญาตให้พูด ตอนนี้ทุกคน
-
มีใบอนุญาตให้พูด แต่ประเด็นตอนนี้คือ จะมีใครได้ยินสิ่งที่คุณพูด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-