WEBVTT 00:00:00.130 --> 00:00:02.572 ไม่ว่าคุณจะคร่ำเคร่งเตรียมสอบ 00:00:02.596 --> 00:00:05.777 หรือพยายามเรียนรู้ เครื่องดนตรีชนิดใหม่ 00:00:05.801 --> 00:00:08.436 หรือแม้กระทั่งพยายามที่จะ เป็นเลิศในการเล่นกีฬาชนิดใหม่ 00:00:08.460 --> 00:00:12.166 การนอนอาจเป็นอาวุธลับแห่งความจำ NOTE Paragraph 00:00:12.190 --> 00:00:14.999 [การนอนหลับกับวิทยาศาสตร์] NOTE Paragraph 00:00:17.180 --> 00:00:21.327 การศึกษาบอกกับเราว่า การนอนสำคัญมากกับความจำ 00:00:21.351 --> 00:00:23.171 ในอย่างน้อย 3 ทาง 00:00:23.195 --> 00:00:26.566 ประการแรก เรารู้ว่าเราต้องนอนก่อนการเรียนรู้ 00:00:26.590 --> 00:00:28.686 เพื่อที่จะเตรียมสมองให้พร้อม 00:00:28.710 --> 00:00:31.113 เหมือนกับฟองน้ำแห้ง ๆ 00:00:31.137 --> 00:00:33.796 พร้อมสำหรับดูดซึมข้อมูลใหม่ ๆ 00:00:33.820 --> 00:00:37.526 ถ้าไม่ได้นอน วงจรความจำภายในสมอง 00:00:37.550 --> 00:00:40.506 ก็จะเต็มไปด้วยข้อมูลที่ได้ก่อนหน้านี้ 00:00:40.530 --> 00:00:43.276 และเราจะไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ ๆ ได้ 00:00:43.300 --> 00:00:47.326 เราจะไม่สามารถหาพื้นที่ให้ความจำใหม่ ๆ ได้ NOTE Paragraph 00:00:47.350 --> 00:00:51.146 แต่มันไม่ได้สำคัญแค่ว่าเราต้องนอน ก่อนการเรียนรู้ 00:00:51.170 --> 00:00:54.766 เพราะเรายังรู้อีกว่า เราต้องนอนหลังการเรียนรู้ด้วย 00:00:54.790 --> 00:00:58.106 เพื่อที่จะบันทึกความจำใหม่ ๆ เหล่านั้น 00:00:58.130 --> 00:00:59.686 เพื่อที่เราจะไม่ลืม 00:00:59.710 --> 00:01:04.336 ความจริงแล้ว การนอนหลับ ช่วยให้ความจำยังคงอยู่ 00:01:04.360 --> 00:01:05.716 ภายในสมอง 00:01:05.740 --> 00:01:07.741 ฝังความจำเหล่านั้นไว้ 00:01:07.765 --> 00:01:11.236 ภายในสถาปัตยกรรมของโครงข่ายประสาท 00:01:11.260 --> 00:01:13.090 และเราเริ่มค้นพบว่า 00:01:13.114 --> 00:01:19.716 การนอนมีประโยชน์ต่อ การสร้างความทรงจำได้อย่างไร NOTE Paragraph 00:01:19.740 --> 00:01:24.966 กลไกแรกคือ กระบวนการถ่ายโอนข้อมูล 00:01:24.990 --> 00:01:27.816 ตรงนี้ เราสามารถพูดถึง โครงสร้างที่ต่างกันสองส่วน 00:01:27.840 --> 00:01:28.996 ภายในสมอง 00:01:29.020 --> 00:01:31.876 โครงสร้างแรกเรียกว่า ฮิปโปแคมปัส 00:01:31.900 --> 00:01:34.676 ฮิปโปแคมปัสอยู่ตรงด้านซ้ายและขวา 00:01:34.700 --> 00:01:35.976 ของสมอง 00:01:36.000 --> 00:01:37.936 เราสามารถนึกถึงฮิปโปแคมปัส 00:01:37.960 --> 00:01:41.586 ว่าเป็นเหมือนกล่องรับข้อความ ภายในสมอง 00:01:41.610 --> 00:01:44.376 มันเก่งในเรื่อง การรับข้อมูลความจำใหม่ ๆ 00:01:44.400 --> 00:01:45.776 และเก็บเอาไว้ NOTE Paragraph 00:01:45.800 --> 00:01:48.266 โครงสร้างที่สอง ที่เราจะพูดถึง 00:01:48.290 --> 00:01:49.786 เรียกว่า เปลือกสมอง 00:01:49.810 --> 00:01:53.666 เนื้อเยื่อย่น ๆ ขนาดใหญ่ ที่อยู่ชั้นบนสุดของสมอง 00:01:53.690 --> 00:01:55.776 ระหว่างการนอนหลับลึก 00:01:55.800 --> 00:01:58.656 จะเกิดกลไกการโอนถ่ายข้อมูล 00:01:58.680 --> 00:02:01.686 นึกถึงฮิปโปแคมปัสเหมือน USB 00:02:01.710 --> 00:02:04.496 และเปลือกสมองเป็นเหมือนฮาร์ดไดรฟ์ 00:02:04.520 --> 00:02:06.466 ระหว่างวัน เราทำนั่นทำนี่ 00:02:06.490 --> 00:02:08.416 และเรารวบรวมข้อมูลมาจำนวนมาก 00:02:08.440 --> 00:02:10.956 จากนั้นระหว่างนอนหลับลึกตอนกลางคืน 00:02:10.980 --> 00:02:13.586 เนื่องจากข้อจำกัดในความสามารถในการจัดเก็บ 00:02:13.610 --> 00:02:17.106 เราจะต้องโอนถ่ายข้อมูลจากฮิปโปแคมปัส 00:02:17.130 --> 00:02:20.156 ไปยังฮาร์ดไดรฟ์ของสมอง หรือเปลือกสมอง 00:02:20.180 --> 00:02:22.436 และนั่นคือหนึ่งในกลไก 00:02:22.460 --> 00:02:24.516 ที่เกิดจากการนอนหลับลึก NOTE Paragraph 00:02:24.540 --> 00:02:28.196 มันมีอีกหนึ่งกลไกที่เราเพิ่งพบ 00:02:28.220 --> 00:02:31.686 ซึ่งช่วยฝังความจำไว้ในสมอง 00:02:31.710 --> 00:02:34.026 มันเรียกว่า การเล่นซ้ำ 00:02:34.050 --> 00:02:35.216 หลายปีก่อน 00:02:35.240 --> 00:02:39.225 นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษา ว่าหนูเรียนรู้ได้อย่างไร 00:02:39.249 --> 00:02:41.316 ระหว่างที่พวกมันวิ่งไปทั่วเขาวงกต 00:02:41.340 --> 00:02:45.796 พวกเขาบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้น กับสมองส่วนความจำของหนู 00:02:45.820 --> 00:02:48.146 ในขณะที่หนูวิ่งไปทั่วเขาวงกต 00:02:48.170 --> 00:02:52.726 เซลล์สมองแต่ละเซลล์ จะจดจำเขาวงกตแต่ละส่วนเอาไว้ 00:02:52.750 --> 00:02:56.422 ถ้าคุณใส่เสียงลงไปในแต่ละเซลล์สมอง 00:02:56.446 --> 00:03:00.086 สิ่งที่คุณจะได้ยิน เมื่อหนูเริ่มเรียนรู้เกี่ยวกับเขาวงกต 00:03:00.110 --> 00:03:02.106 คือเสียงประจำของส่วนความจำนั้น 00:03:02.130 --> 00:03:03.863 มันจะเสียงประมาณนี้... NOTE Paragraph 00:03:03.863 --> 00:03:07.696 (เสียงคีย์เปียโน) NOTE Paragraph 00:03:07.720 --> 00:03:11.876 มันคือเสียงของการเรียนรู้ที่เราได้ยิน 00:03:11.900 --> 00:03:14.626 แต่แล้วพวกเขาก็ทำอะไรบางอย่างที่ชาญฉลาด 00:03:14.650 --> 00:03:19.236 พวกเขาฟังเสียงของสมอง ขณะที่หนูพวกนี้หลับด้วย 00:03:19.260 --> 00:03:21.668 และสิ่งที่พวกเขาได้ยิน มันไม่ธรรมดา 00:03:21.692 --> 00:03:23.816 หนู ตอนที่มันหลับ 00:03:23.840 --> 00:03:28.676 จะเริ่มเล่นความทรงจำของพวกมันซ้ำ 00:03:28.700 --> 00:03:33.066 แต่ตอนนี้มันเล่นซ้ำ แบบเร็วขึ้นเกือบ 10 เท่า 00:03:33.090 --> 00:03:35.236 กว่าตอนที่มันตื่น 00:03:35.260 --> 00:03:37.613 ซึ่งคุณจะเริ่มได้ยิน... NOTE Paragraph 00:03:37.637 --> 00:03:40.636 (เสียงคีย์เปียโนที่เร็วขึ้น) NOTE Paragraph 00:03:40.660 --> 00:03:42.656 นั่นเป็นอย่างที่สอง 00:03:42.680 --> 00:03:45.896 ที่การนอนช่วยให้เราความจำดีขึ้น 00:03:45.920 --> 00:03:50.376 การนอนหลับช่วยเล่นซ้ำ และบันทึกความทรงจำ 00:03:50.400 --> 00:03:52.726 ให้เป็นวงจรใหม่ในสมอง 00:03:52.750 --> 00:03:55.586 ทำให้การแสดงหน่วยความจำนั้นแข็งแกร่งขึ้น NOTE Paragraph 00:03:55.610 --> 00:03:58.936 ประโยชน์ของการนอนต่อความจำประการสุดท้าย 00:03:58.960 --> 00:04:01.746 คือการผสานและการเชื่อมโยง 00:04:01.770 --> 00:04:03.586 ความจริงแล้วเราได้รู้ว่าการนอน 00:04:03.610 --> 00:04:06.696 เป็นเรื่องที่ฉลาดมากกว่าที่เราเคยคิด 00:04:06.720 --> 00:04:10.906 การนอนหลับ ไม่เพียงแค่เสริมสร้างความทรงจำของแต่ละคน 00:04:10.930 --> 00:04:15.776 การนอนยังช่วยเชื่อมโยง ความทรงจำใหม่ ๆ เข้าด้วยกันอย่างชาญฉลาด 00:04:15.800 --> 00:04:17.007 และผลลัพธ์คือ 00:04:17.031 --> 00:04:19.006 คุณตื่นขึ้นมาในวันรุ่งขึ้น 00:04:19.030 --> 00:04:24.216 พร้อมกับโครงข่ายของความเชื่อมโยง ที่ได้ปรับปรุงใหม่ 00:04:24.240 --> 00:04:29.546 เราสามารถคิดทางออก สำหรับปัญหาที่เคยติดขัด NOTE Paragraph 00:04:29.570 --> 00:04:31.131 และนี่อาจจะเป็นเหตุผล 00:04:31.155 --> 00:04:35.726 ที่ไม่เคยมีใครบอกให้คุณ แหกตาตื่นเพื่อแก้ปัญหา 00:04:35.750 --> 00:04:39.616 ตรงกันข้าม คุณจะถูกบอกให้ไปนอนคิดซะ 00:04:39.640 --> 00:04:42.819 และนั่นคือสิ่งที่วิทยาศาสตร์สอนเรา