Return to Video

(h) TROM - 1.1 Science

  • 0:06 - 0:11
    The Reality of Me
  • 0:15 - 0:24
    www.tromsite.com
  • 0:35 - 0:36
    คุณได้ยินฉันไหม
  • 0:37 - 0:38
    ใช่
  • 0:38 - 0:39
    ฉันคิดว่าฉันได้ยินคุณแล้วนะ
  • 0:39 - 0:41
    แต่คุณไม่เห็นฉัน
  • 0:41 - 0:43
    นั่นเป็นเพราะว่าคุณมีหู
  • 0:43 - 0:46
    ถ้าคุณหลับตาแล้วยื่นหน้ามาที่หน้าจอ
  • 0:47 - 0:48
    คุณจะรู้ว่ามันอยู่ตรงนั้น
  • 0:48 - 0:50
    คุณรับความรู้สึกผ่านผิว
  • 0:51 - 0:53
    ถ้าคุณไม่เคยสัมผัสมันมาก่อน
  • 0:53 - 0:55
    อย่างน้อยคุณก็ยังได้กลิ่นมัน
  • 0:55 - 0:57
    และหลังจากคุณได้กลิ่นพลาสติกร้อนๆตรงนั้น
  • 0:57 - 1:00
    คุณก็จะรู้ว่าหน้าจอคอมพิวเตอร์อยู่ตรงนั้น
  • 1:00 - 1:03
    โชคดี ที่คุณมีจมูก
  • 1:03 - 1:06
    แต่ถ้าคุณลองชิมมันดู
  • 1:06 - 1:08
    ใช่ มันเป็นเรื่องยาก
  • 1:08 - 1:10
    แต่สุดท้าย คุณก็จะลองชิมพลาสติก
  • 1:10 - 1:12
    เพราะคุณมีลิ้น
  • 1:13 - 1:15
    คุณเข้าใจโลกรอบๆตัว
  • 1:15 - 1:17
    ฉันหมายถึงรอบๆตัวคุณ
  • 1:18 - 1:19
    ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
  • 1:19 - 1:21
    ถ้าคุณมีหู
  • 1:21 - 1:22
    คุณก็จะสามารถได้ยิน
  • 1:22 - 1:23
    ถ้าคุณมีตา
  • 1:23 - 1:24
    คุณก็สามารถมองเห็น
  • 1:25 - 1:26
    ผ่านทางผิว
  • 1:26 - 1:27
    คุณรู้สึกได้
  • 1:27 - 1:28
    คุณมีลิ้นซึ่งช่วยในการลิ้มรส
  • 1:29 - 1:32
    และถ้าคุณมีจมูก คุณก็สามารถดมกลิ่นได้
  • 1:33 - 1:37
    ตา,หู,จมูก,ลิ้น,และผิว ล้วนเป็น "เครื่องมือ"
  • 1:38 - 1:39
    ซึ่งคุณได้มาตั้งแต่แรกเกิด
  • 1:39 - 1:42
    อุปกรณ์ที่ช่วยให้คุณเข้าใจโลกรอบๆตัวคุณ
  • 1:43 - 1:45
    ว่าแต่ คุณรู้ทั้งหมดนี่ได้อย่างไร ?
  • 1:46 - 1:48
    นั่นก็เพราะว่าคุณสังเกต
  • 1:48 - 1:52
    และ ทำไมเราถึงแบ่งประสาทสัมผัสออกเป็น 5 อย่าง ?
  • 2:12 - 2:18
    [วิทยาศาสตร์]
  • 2:26 - 2:28
    คำตอบก็คือ"วิทยาศาสตร์ !"
  • 2:28 - 2:30
    เพราะโลกนี้มันสุดแสนจะซับซ้อน
  • 2:31 - 2:34
    เราใช้วิทยาศาสตร์ในการค้นหาและให้นิยาม
  • 2:34 - 2:35
    แล้ววิทยาศาสตร์มันคืออะไรล่ะ ?
  • 2:36 - 2:38
    การค้นคว้าและการศึกษาธรรมชาติ
  • 2:38 - 2:41
    ด้วยการสังเกตและเหตุผล
  • 2:41 - 2:42
    หรือจากความรู้เดิมทั้งหมดที่มีอยู่
  • 2:42 - 2:44
    ได้มาผ่านการวิจัยค้นคว้า
  • 2:44 - 2:48
    พูดง่ายๆก็คือ ผลรวมของการทดลองทั้งหมด
    ทั้งตัวเลขและตัวอักษร
  • 2:48 - 2:51
    ซึ่งทั้งหมดสามารถจำกัดความได้
  • 2:51 - 2:52
    อย่างไรล่ะ ?
  • 2:52 - 2:55
    คนส่วนใหญ่รู้จักใช้
    เครื่องหมายและค่า
  • 2:55 - 2:58
    ซึ่งรู้จักกันดีในรูปของตัวอักษรและตัวเลขต่างๆ
  • 2:58 - 3:01
    พวกมันคือสิ่งประดิษฐ์ซึ่งช่วยเรา
  • 3:01 - 3:03
    ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับ
    สภาพแวดล้อมรอบๆตัว
  • 3:04 - 3:05
    เพื่อความเข้าใจที่ดีขึ้นว่า เครื่องหมายเหล่านี้
  • 3:05 - 3:07
    เข้ามีตัวตนอยู่ได้อย่างไร
  • 3:07 - 3:10
    เรามาดูประวัติโดยย่อเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
  • 3:14 - 3:16
    มนุษย์ในยุคเริ่มแรก
  • 3:16 - 3:19
    ได้มองหาวิธีแก้ปัญหาง่ายๆ
  • 3:20 - 3:21
    การสร้างบ้าน ,การวัดระยะห่าง
  • 3:21 - 3:24
    ติดตามฤดู และการนับจำนวนสิ่งของ
  • 3:25 - 3:26
    เมื่อประมาณ 32,000 ปีก่อน
  • 3:26 - 3:28
    มนุษย์ยุค paleolithic
  • 3:28 - 3:29
    ติดตามการเปลี่ยนแปลงของฤดู
  • 3:29 - 3:31
    และการเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศ
    เพื่อการเพาะปลูก
  • 3:32 - 3:34
    ในการที่จะนำเสนอการผ่านไปของเวลา
  • 3:34 - 3:36
    พวกเขาแกะสลักเป็นเครื่องหมายขีดบนผนังถ้ำ
  • 3:36 - 3:39
    หรือกรีดลงบนซากกระดูก ,ไม้หรือหิน
  • 3:39 - 3:42
    แต่ละ ขีด หมายถึง หนึ่ง
  • 3:42 - 3:43
    แต่ระบบนี้เริ่มไม่สะดวก
  • 3:43 - 3:45
    เมื่อต้องมาเจอกับจำนวนที่มาก
  • 3:45 - 3:46
    จึงทำให้สัญลักษณ์ได้ถูกสร้างขึ้นมา
  • 3:47 - 3:48
    ซึ่งหมายถึงกลุ่มของวัตถุต่างๆ
  • 3:48 - 3:51
    ศิลาหินของชาวสุเมเรียนถูกค้นพบ
  • 3:51 - 3:53
    ซึ่งมีอายุถึง 4 สหัสวรรษ B.C
  • 3:53 - 3:56
    ดินเหนียวก้อนเล็กๆใช้แทนเลข 1
  • 3:56 - 3:58
    ดินเหนียวที่ปั้นเป็นก้อนใช้แทนเลข 10
  • 3:58 - 4:00
    และรูปกรวยแทนเลข 60
  • 4:01 - 4:04
    จากการบันทึกเมื่อประมาณ 3,300 BC แสดงถึง
  • 4:04 - 4:06
    ชาวบาบิโลนจารึกจำนวนต่างๆ
  • 4:06 - 4:07
    ลงบนแผ่นดินเหนียวด้วยต้นกก
  • 4:08 - 4:10
    พวกเขาใช้รูปทรงตะปู แทนเลข 1
  • 4:10 - 4:13
    และ V แทนเลข 10
  • 4:13 - 4:15
    เมื่อนำสัญลักษณ์ทั้งสองนี้มารวมกัน
    เพื่อที่จะแสดงเลขอื่นๆ
  • 4:15 - 4:16
    ยกตัวอย่างเช่น
  • 4:16 - 4:18
    ชาวบาบิโลนเขียนเลข 19 เป็น
  • 4:20 - 4:22
    ชาวอียิปต์โบราณใช้สิ่งของ
  • 4:22 - 4:24
    ในชีวิตประจำวันเป็นสัญลักษณ์
  • 4:24 - 4:27
    ปมเชือก แทนเลข 1
    เกวียนวัวแทนเลข 10
  • 4:27 - 4:28
    เชือกม้วนแทนเลข 100
  • 4:28 - 4:31
    ดอกบัวแทน 1,000 ไปเรื่อยๆ
  • 4:31 - 4:35
    เลข 19 สามารถแสดงได้ด้วย เกวียนวัว 1 อัน
    และปมเชือก 9 ปม
  • 4:36 - 4:38
    ชาวโรมันสมัยก่อนสร้างระบบตัวเลขขึ้นมา
  • 4:38 - 4:40
    ซึ่งเราก็เห็นใช้อยู่ทุกวันนี้
  • 4:40 - 4:41
    ตามด้วยอีกสัญลักษณ์
  • 4:41 - 4:44
    พวกมันสามารถเขียนได้เป็น 'X' แทน 10 และ 'I' แทน 1
  • 4:44 - 4:45
    เมื่อเข้าสู่ยุคกลาง
  • 4:45 - 4:47
    ชาวโรมันใส่ 'I' อยู่ทางด้านขวาของ 'X'
  • 4:47 - 4:50
    แทนเลข 11
    และทางด้านซ้ายแทนเลข 9
  • 4:50 - 4:52
    ดั้งนั้นจึงเขียนเลข 19 ได้เป็น XIX
  • 4:53 - 4:54
    ระบบตัวเลขต่างๆเหล่านี้
  • 4:55 - 4:58
    ล้วนแสดงถึงกลุ่มของวัตถุ เช่นเดียวกับสิ่งของส่วนบุคคล
  • 4:59 - 5:00
    ระบบการนับที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์
  • 5:00 - 5:03
    ใช้นิ้วมือและนิ้วเท้าเป็นหลัก
  • 5:03 - 5:06
    ดังนั้นมันจึงอยู่บนเลขฐาน 1 ,5 ,10 ,และ 20
  • 5:06 - 5:08
    คำว่า 6 สำหรับชาวซูลูก็คือ
  • 5:08 - 5:11
    ยกนิ้วโป้งข้างขวาหนึ่งนิ้ว
  • 5:11 - 5:12
    นั่นหมายความว่านิ้วที่เหลือข้างซ้าย
  • 5:13 - 5:16
    จะถูกรวมเข้าไปและเพิ่มน้วโป้งขวาขึ้นมา
  • 5:16 - 5:18
    ระบบอื่นๆมีวิวัฒนาการมาจากการค้า
  • 5:18 - 5:20
    ชาว Yoruba ในไนจีเรีย
  • 5:20 - 5:22
    ใช้เปลือกหอยแทนเงิน
  • 5:22 - 5:25
    และพัฒนาเป็นระบบตัวเลขที่น่าอัศจรรย์
  • 5:25 - 5:26
    มันอยู่บนเลขฐาน 20
  • 5:26 - 5:28
    และสามารถทำได้ทั้งการคูณ
  • 5:28 - 5:30
    การลบและการบวก
  • 5:30 - 5:31
    ยกตัวอย่างเช่น
  • 5:31 - 5:36
    พวกเขาคิด 45 เป็น 3x20 ลบ 10 ลบ 5
  • 5:37 - 5:39
    ปมที่ผูกอยู่บนเส้นเชือกถูกใช้
  • 5:39 - 5:41
    ในการบันทึกจำนวนต่างๆ ของหลายๆวัฒนธรรม
  • 5:41 - 5:43
    เช่นชาวเปอร์เซีย
  • 5:43 - 5:44
    ชาวอินคามีวิสัยทัศน์ที่ไกลกว่านั้น
  • 5:44 - 5:45
    เรียกว่า "quipu"
  • 5:45 - 5:48
    สายที่หนาผูกติดกันในแนวตั้ง
  • 5:48 - 5:49
    ซึ่งผูกกับปมเชือก
  • 5:50 - 5:52
    และปมเชือกที่ชาวอินคาใช้แบบนี้
  • 5:52 - 5:53
    รวมกับความยาวและสีของเส้นเชือก
  • 5:53 - 5:56
    แสดงถึงเลขฐาน 1 ,10 ,100
  • 5:56 - 5:58
    ทุกวันนี้ เกือบทุกวัฒนธรรม
  • 5:58 - 6:00
    ต่างใช้เลข 0 ถึง 9
  • 6:01 - 6:02
    แต่สัญลักษณ์เหล่านี้ยังไม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมา
  • 6:02 - 6:04
    จนกระทั่งถึง ศตวรรษที่ 3 BC ในอินเดีย
  • 6:05 - 6:06
    และมันใช้เวลาถึง 800 ปี
  • 6:06 - 6:10
    เพื่อแนวคิดของเลข 0 จึงจะถูกสร้างขึ้นมา
  • 6:10 - 6:11
    ความคิดที่ยิ่งใหญ่นี้
  • 6:11 - 6:13
    ได้เปลี่ยนแปลงหน้าตาของคณิตศาสตร์
  • 6:15 - 6:17
    มนุษย์เราจะแบ่งปันของให้คนอื่นๆเสมอ
  • 6:17 - 6:19
    ในสมัยก่อน จะแบ่งปันอาหารและน้ำ
  • 6:19 - 6:21
    หรือต้องการแบ่งแยกเขตแดน
  • 6:21 - 6:22
    ในทางที่ยุติธรรมและเท่าๆกัน
  • 6:23 - 6:24
    เศษส่วนค่อยๆกำเนิดขึ้นมา
  • 6:24 - 6:27
    เป็นสัญลักษณ์ของการแบ่งปันอย่างเท่าเทียม
  • 6:28 - 6:30
    ชาวอียิปต์โบราณใช้หน่วยเศษส่วน
  • 6:30 - 6:32
    เศษส่วนที่เป็นตัวเศษ คือ 1
  • 6:32 - 6:35
    เช่น 1/2 ,1/3 และ 1/5
  • 6:35 - 6:37
    และแบ่งเศษส่วนนี้ออกเป็นครึ่งหนึ่ง
  • 6:37 - 6:40
    ถ้าพวกเขาต้องการแบ่งขนมปังเท่าๆกัน
  • 6:40 - 6:42
    กับทุกๆคนในครอบครัว
  • 6:42 - 6:44
    พวกเขาเริ่มจากแบ่งขนมปังชิ้นแรก
    และชิ้นที่สอง
  • 6:44 - 6:45
    ออกเป็น 3 ชิ้น
  • 6:46 - 6:48
    แล้วพวกเขาก็แย่งขนมปังชิ้นที่ 3 เป็น 5 ชิ้น
  • 6:50 - 6:51
    สุดท้าย พวกเขาก็นำ 1 ใน 3 ของที่เหลือ
  • 6:52 - 6:55
    จากขนมปังชิ้นที 2 แบ่งออกเป็น 5 ชิ้น
  • 6:56 - 7:00
    สามารถเขียนได้เป็น 1/3 ,1/5 ,1/15
  • 7:01 - 7:02
    ทุกวันนี้เราแสดงถึงการแบ่งแบบนี้
  • 7:02 - 7:04
    ด้วยเศษส่วน : 3/5
  • 7:04 - 7:06
    3/5 ของขนมปังแต่ละชิ้น
    สำหรับแต่ละคน
  • 7:07 - 7:09
    หรือขนมปัง 3 ชิ้น แบ่งโดย คน 5 คน
  • 7:10 - 7:12
    ชาวสุเมเรียนและชาวบาบิโลน
  • 7:12 - 7:13
    ประดิษฐ์ระบบเศษส่วน
  • 7:13 - 7:17
    บนเลขฐาน 60 และเราก็ยังใช้อยู่ในอีก 4,000 ปีให้หลัง
  • 7:17 - 7:19
    วันของเรามี 60 นาที ใน 1 ชั่วโมง
  • 7:19 - 7:20
    และ 60 วินาที ใน 1 นาที
  • 7:21 - 7:23
    ในวงกลมของเรามี 360 องศา
  • 7:25 - 7:27
    คนจีนใช้ลูกคิด
  • 7:27 - 7:30
    มีฐานอยู่บนเลขฐาน 10 แม้ว่าไม่มีเลข 0 ก็ตาม
  • 7:31 - 7:32
    การใช้เศษส่วนด้วยเลขฐาน 10
  • 7:32 - 7:33
    นั้นมาจากลูกคิด
  • 7:34 - 7:34
    เช่น
  • 7:34 - 7:38
    3/5 ก็คือ 6 ใน 10 ของลูกคิด
  • 7:38 - 7:41
    คนจีนตั้งชื่อตัวเศษอย่างน่ารักว่า "ลูกชาย"
  • 7:41 - 7:43
    และตัวส่วนเรียกว่า "แม่"
  • 7:44 - 7:45
    จนกระทั่งถึง ศตวรรษที่ 12
  • 7:45 - 7:46
    เศษส่วนที่ใช้กันอยู่ทั่วไป
  • 7:46 - 7:48
    ด้วยเครื่องหมายหาร "_" ที่เราใช้ทุกวันนี้
  • 7:48 - 7:49
    ถูกประดิษฐ์ขึ้นมา
  • 7:50 - 7:52
    หลังจากนั้น เศษส่วนเหล่านี้ก็ไม่ได้ใช้เป็นที่แพร่หลาย
  • 7:52 - 7:54
    จนกระทั่งถึงยุคเรเนสซองส์ เมื่อประมาณ 500 ปีก่อน
  • 7:56 - 7:58
    ตลอดประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาทั่วโลก
  • 7:58 - 8:00
    ได้สร้างหนทางต่างในการคิดคำนวณ
  • 8:01 - 8:03
    เพื่อที่จะแก้ปัญหา เช่น 12x15
  • 8:04 - 8:05
    ชาวรัสเซียสมัยก่อน
  • 8:05 - 8:07
    ใช้ระบบของการทวีคูณและแบ่งครึ่ง
  • 8:10 - 8:12
    เมื่อเลขคี่ให้ผลออกมาเป็นเศษส่วน
  • 8:13 - 8:14
    พวกเขาปัดค่าลง
  • 8:16 - 8:17
    และพวกเขาก็รวมผลคูณ
  • 8:17 - 8:19
    ของเลขคี่เข้าด้วยกัน
  • 8:24 - 8:27
    ชาวอียิปต์สมัยก่อนใช้กระบวนการเพิ่มขึ้นอย่างทวีคูณ
  • 8:27 - 8:28
    จนกระทั่งพวกเขามีกลุ่มมากพอ
  • 8:32 - 8:35
    แล้วพวกเขาก็รวมกลุ่มเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อหาคำตอบ
  • 8:41 - 8:43
    ทั่วยุโรปและเอเซีย ในช่วงยุคกลาง
  • 8:43 - 8:46
    ลูกคิดแทบกลายเป็นเครื่องคิดเลขพกพา
    ในสมัยนั้นเลย
  • 8:46 - 8:48
    มีเพียงคนไม่กี่คนเท่านั้นที่รู้วิธีใช้มัน
  • 8:48 - 8:50
    โดยปกติแล้วจะเป็นพ่อค้าหรือผู้ให้กู้ยืมเงิน
  • 8:51 - 8:53
    ด้วยการขยับลูกคิดซึ่งแต่ละหลักก็จะมีค่าของมัน
  • 8:54 - 8:56
    ลูกคิดนับว่ามีประสิทธิภาพมาก และง่ายต่อการคำนวณ
  • 8:57 - 8:59
    ต่อมานักคณิตศาสตร์ชาวอาหรับ Al-Khwrizm
  • 8:59 - 9:02
    แนะนำให้ใช้ระบบเลขฮินดูอาราบิก ตั้งแต่เลข 0 ถึงเลข 9
  • 9:02 - 9:04
    ในอเมริกาเหนือและยุโรป
  • 9:04 - 9:06
    และสร้างกระบวนการคิดคำนวณใหม่
  • 9:07 - 9:09
    ขั้นตอนวิธีเหล่านี้สามารถเขียนได้
    ลงบนแผ่นกระดาษ
  • 9:10 - 9:12
    ผ่านการเรียนรู้มานับศตวรรษ
  • 9:12 - 9:14
    จนกลายเป็นเครื่องหมายทางการศึกษา
  • 9:14 - 9:15
    เมื่อนักเรียนถูกสอนให้คิดคำนวณ
  • 9:15 - 9:17
    เป็นขั้นตอนยาวหลายคอลัมน์
  • 9:17 - 9:18
    ในการยืมและถือ
  • 9:18 - 9:21
    และทำหารยาวอย่างมีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือ
  • 9:22 - 9:23
    ตอนนี้พวกเขาสามารถเก็บบันทึกขั้นตอนเหล่านี้ไว้
  • 9:23 - 9:25
    และตรวจคำตอบ
  • 9:26 - 9:28
    ทุกวันนี้ การคิดคำนวณที่ซับซ้อน
  • 9:28 - 9:30
    จะกระทำโดยเครื่องคิดเลข
  • 9:30 - 9:31
    นั่นหมายความว่านักเรียนต้องมีความสามารถ
  • 9:31 - 9:33
    ในการตรวจสอบคำตอบ
  • 9:33 - 9:35
    และมีองค์ประกอบ
  • 9:35 - 9:37
    และเทคนิคทางคณิตศาสตร์เพื่อจะทำมันออกมา
  • 9:38 - 9:40
    การคิดคำนวนแบบง่ายๆ เช่น 12x15
  • 9:41 - 9:43
    สามารถคิดได้ ด้วยการใช้เทคนิคต่างๆ
  • 9:54 - 9:55
    หลังจากที่เราผ่าน
  • 9:55 - 9:57
    ประวัติศาสตร์ทางคณิตศาสตร์
    ที่มากและมีชีวิตชีวา
  • 9:57 - 9:59
    เราเห็นทั้งแนวคิดและการสร้าง
  • 9:59 - 10:01
    เจริญขึ้นมาจากความต้องการของมนุษย์
  • 10:01 - 10:04
    เพื่อที่จะแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
  • 10:04 - 10:06
    เวลาผ่านไป การค้นพบทางคณิตศาสตร์
  • 10:06 - 10:08
    ของชายและหญิงทั่วโลก
  • 10:08 - 10:10
    ได้ให้มุมมองที่่น่าสนใจต่างๆ
  • 10:10 - 10:12
    ซึ่งช่วยให้เราใช้คณิตศาสตร์
  • 10:12 - 10:14
    ทำความเข้าใจโลกของเรา
  • 10:15 - 10:17
    วิทยาศาสตร์คือการเก็บรวบรวมข้อเท็จจริง
  • 10:17 - 10:20
    ซึ่งได้มาจากการนิยามจากสิ่งที่เราสังเกต
  • 10:21 - 10:23
    และทำการทดลอง
    เพื่อที่จะค้นหา
  • 10:24 - 10:28
    คณิตศาสตร์ ,เคมี ,และฟิสิกส์ แสดงถึง
  • 10:29 - 10:32
    ภาษาที่ตายตัว ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับการตีความ
  • 10:32 - 10:35
    ภาษาที่ใช้อธิบายถึง
    สิ่งที่เราสังเกตเห็น
  • 10:36 - 10:39
    และทดลองสิ่งที่สังเกตได้นั้น
    เพื่อทำการพิสูจน์
  • 10:39 - 10:41
    ลองคิดถึง DNA
  • 10:41 - 10:44
    เซลล์ ,กาแลคซี่ต่างๆ
  • 10:44 - 10:46
    ผลไม้
  • 10:46 - 10:48
    คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
  • 10:49 - 10:51
    เครื่องปรับอากาศ
  • 10:51 - 10:54
    ลองนึกถึง รถยนต์
  • 10:54 - 10:57
    อาหาร
  • 10:57 - 10:59
    บ้าน
  • 11:00 - 11:03
    สัตว์
  • 11:03 - 11:06
    ดอกไม้
  • 11:06 - 11:09
    ลองนึกถึง อะตอม
  • 11:09 - 11:11
    อวัยวะในร่างกาย
  • 11:12 - 11:14
    สภาพอากาศ
  • 11:15 - 11:18
    หรือเสื้อผ้าที่คุณสวมใส่
  • 11:20 - 11:23
    และตระหนักว่าทุกสิ่งทุกอย่างถูกให้นิยาม
  • 11:23 - 11:25
    หรือถูกสร้างขึ้นมา
  • 11:25 - 11:27
    ด้วยวิทยาศาสตร์
  • 11:34 - 11:36
    ในการที่จะเข้าใจถึงแนวคิด
    ทั้งหมดของวิทยาศาสตร์
  • 11:36 - 11:40
    คุณควรรู้ว่าทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์คือ
  • 11:41 - 11:42
    ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
  • 11:42 - 11:45
    ประกอบไปด้วยกลุ่มของแนวคิด
  • 11:45 - 11:48
    ซึ่งรวมถึงนามธรรมของปรากฎการณ์ที่สังเกตได้
  • 11:48 - 11:51
    อธิบายได้ในคุณสมบัติที่ประมาณค่าได้
  • 11:51 - 11:54
    ด้วยกันกับกฎกติกา (ที่เรียกว่ากฎทางวิทยาศาสตร์)
  • 11:54 - 11:56
    ที่อธิบายถึงความสัมพันธ์
  • 11:56 - 11:59
    ระหว่างการสังเกตของทฤษฎีนั้น
  • 11:59 - 12:02
    ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
    ให้สอดคล้องกับ
  • 12:02 - 12:05
    ข้อมูลทางการทดลองที่แน่ชัด
  • 12:05 - 12:09
    และนำไปใช้เป็นหลักการ
  • 12:09 - 12:11
    ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ
  • 12:12 - 12:14
    ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์แตกต่างอย่างสิ้นเชิง
  • 12:14 - 12:15
    จากทฤษฎีอื่นๆ
  • 12:16 - 12:18
    มันเป็นความน่าจะเป็นไปได้มากที่สุด
  • 12:18 - 12:21
    ที่ได้มาจากการสำรวจ
  • 12:33 - 12:36
    วิทยาศาสตร์เป็นอุปกรณ์ที่ดีสุด
    ที่คิดค้นขึ้นมา
  • 12:37 - 12:39
    ในการที่จะทำความเข้าใจโลก
  • 12:39 - 12:42
    วิทยาศาสตร์เป็นรูปความรู้หนึ่งของมนุษย์
  • 12:42 - 12:45
    เราจะอยู่บนขอบของรู้ถึงอยู่เสมอ
  • 12:45 - 12:47
    วิทยาศาสตร์เป็นการทำงานร่วมกัน
    ของหลายๆองค์กร
  • 12:48 - 12:50
    ทอดข้ามไปสู่รุ่นหลัง
  • 12:51 - 12:53
    เราจดจำผู้ที่ปูทางไว้ให้เรา
  • 12:54 - 12:57
    ไม่ลืมพวกเขาไปเช่นกัน
  • 12:57 - 12:58
    ถ้าคุณมีความรู้ทางวิทยาศาสคร์
  • 12:59 - 13:00
    โลกจะดูแตกต่างไปมากสำหรับคุณ
  • 13:00 - 13:03
    และความเข้าใจนั้นเป็นตัวผลักดันคุณ
  • 13:09 - 13:12
    มีบทกวีเกี่ยวกับความจริง
    อยู่ในโลกใบนี้
  • 13:12 - 13:15
    วิทยาศาสตร์คือบทกวีแห่งข้อเท็จจริง
  • 13:16 - 13:18
    เราสามารถใช้วิทยาศาสตร์
  • 13:19 - 13:21
    ปรับปรุงชีวิตเราให้ดีขึ้นได้
  • 13:21 - 13:24
    มีบทกวีเกี่ยวกับความจริง
    อยู่ในโลกใบนี้
  • 13:24 - 13:27
    วิทยาศาสตร์คือบทกวีแห่งข้อเท็จจริง
  • 13:27 - 13:30
    เรื่องราวของมนุษย์เป็น
    เรื่องราวของความคิด
  • 13:30 - 13:34
    ที่ฉายแสงในมุมมืด
  • 13:40 - 13:44
    นักวิทยาศาสตร์ชอบปริศนา
    พวกเขาชอบในการที่ไม่รู้
  • 13:46 - 13:48
    ผมไม่รู้สึกกลัวในสิ่งที่ไม่รู้
  • 13:49 - 13:51
    ผมเห็นว่ามันน่าสนใจด้วยซ้ำ
  • 13:52 - 13:55
    มีความเป็นจริงในจักรวาล
  • 13:55 - 13:58
    ซึ่งเราทุกๆคนเป็นส่วนหนึ่ง
  • 13:58 - 14:00
    ยิ่งเราหยั่งรู้เกี่ยวกับจักรวาลมากเท่าไหร่
  • 14:00 - 14:04
    การสำรวจที่เราทำก็ยิ่งน่าทึ่งมากเท่านั้น
  • 14:04 - 14:06
    การสืบหาความจริงทั้งภายในและภายนอก
  • 14:06 - 14:09
    เป็นเรื่องราวที่เต็มไปด้วยความเข้าใจอย่างถ่องแท้
  • 14:16 - 14:18
    มีบทกวีเกี่ยวกับความจริง
    อยู่ในโลกใบนี้
  • 14:19 - 14:22
    วิทยาศาสตร์คือบทกวีแห่งข้อเท็จจริง
  • 14:23 - 14:25
    เราสามารถใช้วิทยาศาสตร์
  • 14:26 - 14:28
    ปรับปรุงชีวิตเราให้ดีขึ้นได้
  • 14:28 - 14:31
    มีบทกวีเกี่ยวกับความจริง
    อยู่ในโลกใบนี้
  • 14:31 - 14:34
    วิทยาศาสตร์คือบทกวีแห่งข้อเท็จจริง
  • 14:34 - 14:37
    เรื่องราวของมนุษย์เป็น
    เรื่องราวของความคิด
  • 14:38 - 14:40
    ที่ฉายแสงในมุมมืด
  • 14:40 - 14:43
    จากจุดที่โดดเดี่ยวในอวกาศ
  • 14:43 - 14:46
    เรามีพลังแห่งความคิด
  • 14:46 - 14:49
    เราสามารถย้อนกลับไปในช่วงเวลา
  • 14:50 - 14:52
    ที่เป็นจุดเริ่มต้นของจักรวาล
  • 14:52 - 14:53
    ผมคิดว่าวิทยาศาสตร์นั้น
  • 14:53 - 14:55
    ได้เปลี่ยนแปลงการทำงาน
    ทางจิตใจของเรา
  • 14:55 - 14:58
    ให้คิดในสิ่งต่างๆลึกขึ้น
  • 14:58 - 15:02
    วิทยาศาสตร์แทนที่ความมีอคติส่วนบุคคล
  • 15:02 - 15:04
    ด้วยหลักฐานที่สามารถพิสูจน์ได้
  • 15:04 - 15:07
    มีบทกวีเกี่ยวกับความจริง
    อยู่ในโลกใบนี้
  • 15:08 - 15:11
    วิทยาศาสตร์คือบทกวีแห่งข้อเท็จจริง
  • 15:11 - 15:14
    เราสามารถใช้วิทยาศาสตร์
  • 15:15 - 15:16
    ปรับปรุงชีวิตเราให้ดีขึ้นได้
  • 15:16 - 15:19
    [วิทยาศาสตร์เป็นอุปกรณ์ที่ดีในการทำความเข้าใจ
  • 15:20 - 15:22
    โลกรอบๆตัวเรา]
  • 15:22 - 15:24
    [คิดซะว่าเหมือนแว่นขยาย
  • 15:24 - 15:26
    ที่มองผ่านสิ่งที่คุณเห็น
  • 15:26 - 15:30
    และโลกความเป็นจริงรอบๆตัวของคุณ]
  • Not Synced
    [การพัฒนาการคำนวณ]
  • Not Synced
    [การพัฒนาระบบตัวเลข]
  • Not Synced
    [การพัฒนาระบบเศษส่วน]
Title:
(h) TROM - 1.1 Science
Description:

http://tromsite.com - Full documentary, very well organized (download, youtube stream, subtitles, credits, share, get involved, and many more)

Documentary´s description :
-------------------------------------------------------------------------
TROM (The Reality of Me) represents the biggest documentary ever created, it is also the only one that tries to analyse everything : from science to the monetary system as well as real solutions to improve everyone's life.

A new and ´real´ way to see the world.

"Before the Big-Bang, till present, and beyond."
-------------------------------------------------------------------------

more » « less
Video Language:
English
Duration:
15:34
makemek edited Thai subtitles for (h) TROM - 1.1 Science
makemek edited Thai subtitles for (h) TROM - 1.1 Science
makemek added a translation

Thai subtitles

Revisions