Return to Video

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

  • 0:01 - 0:03
    หาค่าสัมบูรณ์ ของ x
  • 0:03 - 0:09
    เมื่อ x=5 , x= -10 และ x=-12
  • 0:09 - 0:11
    ค่าสัมบูรณ์นั้น จริง ๆ แล้ว
  • 0:11 - 0:14
    วิธีเขียนดูเหมือนจะ
  • 0:14 - 0:16
    ซับซ้อนกว่าที่ควรจะเป็น
  • 0:16 - 0:22
    ค่าสัมบูรณ์ ที่จริงแล้วก็คือระยะห่างระหว่างค่า x
  • 0:22 - 0:26
    กับศูนย์นั่นเอง
  • 0:26 - 0:29
    เอาล่ะ เรามาลองเขียนเส้นจำนวนกันดู
  • 0:29 - 0:32
    แล้วใส่เลขศูนย์ตรงนี้
  • 0:32 - 0:35
    เพราะเราจะดูระยะห่างจากเลขศูนย์
  • 0:35 - 0:40
    ถ้าเราต้องการหาค่าสัมบูรณ์ของ x เมื่อ x = 5
  • 0:40 - 0:43
    ถ้าเราต้องการหาค่าสัมบูรณ์ของ x เมื่อ x = 5
  • 0:43 - 0:45
    ก็แทนที่ x ด้วยเลข 5
  • 0:45 - 0:49
    ค่าสัมบูรณ์ของ 5 จะเท่ากับ ระยะห่างระหว่าง 0 กับ 5
  • 0:49 - 0:52
    เท่ากับ 1, 2, 3, 4 และ 5
  • 0:52 - 0:55
    เลข 5 นี้ ก็คือ 5 ที่อยู่ทางด้านขวาของ 0
  • 0:55 - 1:00
    ดังนั้น ค่าสัมบูรณ์ของ 5 ก็คือ " 5 " นั่นเอง
  • 1:00 - 1:02
    ตอนนี้ คิดว่าเราคงได้เห็น
  • 1:02 - 1:03
    หลักการคิดค่าสัมบูรณ์ง่าย ๆ แบบตรงไปตรงมาแล้ว
  • 1:03 - 1:04
    ต่อไป เรามาลองหา
  • 1:04 - 1:07
    ค่าสัมบูรณ์ของ -10
  • 1:07 - 1:10
    เมื่อ x = -10
  • 1:10 - 1:13
    โดยใส่ -10 แทนที่ x
  • 1:13 - 1:16
    ซึ่งก็คือระยะห่างระหว่าง -10 กับ 0
  • 1:16 - 1:24
    เราก็แค่นับ -1,-2,-3,-4,-5,-6,-7,-8,-9 และ -10
  • 1:24 - 1:26
    เราก็แค่นับ -1,-2,-3,-4,-5,-6,-7,-8,-9 และ -10
  • 1:26 - 1:28
    -10 อยู่ตรงนี้
  • 1:28 - 1:32
    แล้วระยะทางจาก 0 ถึง -10 คือเท่าไร
  • 1:32 - 1:35
    คำตอบคือ 10 นั่นเอง
  • 1:35 - 1:37
    คำตอบคือ 10 นั่นเอง
  • 1:37 - 1:41
    ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ค่าสัมบูรณ์จะมีค่าเป็นบวกเสมอ
  • 1:41 - 1:45
    ถ้าเราคิดถึงค่าสัมบูรณ์ของตัวเลขใด ๆ
  • 1:45 - 1:49
    คำตอบก็คือค่าที่เป็นบวกของตัวเลขนั้น ๆ
  • 1:49 - 1:50
    ลองมาทำโจทย์กันอีกครั้งหนึ่ง
  • 1:50 - 1:51
    ลองมาทำโจทย์กันอีกครั้งหนึ่ง
  • 1:51 - 1:55
    ค่าสัมบูรณ์ของ x เมื่อ x = -12
  • 1:55 - 1:58
    ค่าสัมบูรณ์ของ x เมื่อ x = -12
  • 1:58 - 2:00
    คราวนี้ ไม่ต้องใช้เส้นจำนวนแล้ว
  • 2:00 - 2:03
    ค่าสัมบูรณ์ของ -12 คือค่าที่เป็นบวกของ -12
  • 2:03 - 2:05
    ซึ่งก็เท่ากับ "12" นั่นเอง
  • 2:05 - 2:09
    และหมายความว่า -12 นั้นอยู่ห่างจากเลขศูนย์ เป็นระยะทาง 12 หน่วย
  • 2:09 - 2:11
    เราสามารถวาดให้เห็นบนเส้นจำนวนได้ดังนี้
  • 2:11 - 2:13
    เลข -11, -12 อยู่ตรงนี้
  • 2:13 -
    ลองนับดู 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 จากศูนย์
Title:
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม
Description:

U09_L1_T2_we2 ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

more » « less
Video Language:
English
Duration:
02:22
Ornrat Lohitnavy edited Thai subtitles for Absolute Value of Integers
Ornrat Lohitnavy edited Thai subtitles for Absolute Value of Integers
Ornrat Lohitnavy edited Thai subtitles for Absolute Value of Integers
Papop edited Thai subtitles for Absolute Value of Integers
Papop added a translation

Thai subtitles

Revisions