Return to Video

มุม (ตอน 3)

  • 0:01 - 0:02
    ยินดีต้อนรับกลับมาครับ
  • 0:02 - 0:06
    เราเรียนกฎเกี่ยวกับมุมที่เรา
  • 0:06 - 0:09
    ต้องใช้เริ่มเล่นกับเกมของมุมเกือบหมดแล้ว
  • 0:09 - 0:12
    งั้นลองเรียนกันต่ออีก
  • 0:12 - 0:15
    สมมุติว่าผมมีเส้นตรงขนานกันสองเส้น, และคุณอาจ
  • 0:15 - 0:18
    ไม่รู้ว่าเส้นขนานคืออะไร และผมจะอธิบาย
  • 0:18 - 0:19
    ให้คุณเดี๋ยวนี้
  • 0:19 - 0:24
    แล้วผมมีเส้นหนึ่งนี่แบบนี้ -- คุณอาจมีสัญชาตญาณ
  • 0:24 - 0:26
    ว่าเส้นขนานหมายถึงอะไร
  • 0:26 - 0:29
    นั่นคือเส้นขนานเส้นหนึ่ง, และขอผม
  • 0:29 - 0:33
    ทำให้เส้นสีเขียวอีกเส้นเป็นเส้นขนาน
  • 0:33 - 0:35
    เส้นขนาน, และผมจะวาดส่วนหนึ่งของมัน
  • 0:35 - 0:37
    เราสมมุติว่าพวกมันยาวตลอดไป เพราะพวกนี้
  • 0:37 - 0:42
    เป็นหลักเชิงนามธรรม -- เส้นสีฟ้าอ่อนนี่ จะยาวไป ยาวไป
  • 0:42 - 0:45
    เรื่อยๆ ออกจาหน้าจอไป และเหมอืนกับเส้นตรงสีเขียวนี่
  • 0:45 - 0:48
    และเส้นขนาน คือเส้นตรงสองเส้นในระนาบเดียวกัน
  • 0:48 - 0:50
    และระนาบก็คือ คุณอาจใช้มันเป็น
  • 0:50 - 0:53
    พื้นผิวราบเป็นระนาบ
  • 0:53 - 0:57
    เราจะไม่ไปยังสเปซสามมิติ
  • 0:57 - 0:58
    ในวิชาเรขาคณิต
  • 0:58 - 1:01
    พวกมันจะอยู่บนระนาบเดียวกัน, และคุณสามารถมองระนาบนี้
  • 1:01 - 1:03
    ว่าเป็นหน้าจอของคอมพิวเตอร์คุณ หรือแผ่นกระดาษ
  • 1:03 - 1:06
    ที่คุณใช้อยู่ มันจะไม่ตัดกัน และ
  • 1:06 - 1:07
    มันเป็นเส้นตรงสองเส้นแยกกัน
  • 1:07 - 1:10
    แน่นอนถ้าพวกมันวาดซ้อนกัน
  • 1:10 - 1:11
    แล้วมันจะตัดกันทุกที่
  • 1:11 - 1:14
    ดังนั้นมันก็แค่เส้นตรงสองเส้นบนระนาบ ที่ไม่เคย
  • 1:14 - 1:15
    ตัดกันเลย
  • 1:15 - 1:16
    นั่นคือเส้นตรงขนานกัน
  • 1:16 - 1:18
    ถ้าคุณเรียนพีชคณิต และคุณคุ้นเคยเรื่อง
  • 1:18 - 1:21
    ความชันแล้ว, เส้นขนานคือเส้นตรงสองเส้นที่มี
  • 1:21 - 1:22
    ความชันเท่ากัน, จริงไหม?
  • 1:22 - 1:26
    พวกมันเพิ่มขึ้นหรือลดลงด้วยอัตราเดียวกัน
  • 1:26 - 1:28
    แต่พวกมันมีจุดตัดแกน y ต่างกัน
  • 1:28 - 1:29
    ถ้าคุณไม่รู้ว่าผมพูดถึงอะไร,
  • 1:29 - 1:30
    ยังไม่ต้องสนใจตอนนี้
  • 1:30 - 1:32
    ผมว่าคุณรู้อยู่แล้วว่าเส้นขนานหมายถึงอะไร
  • 1:32 - 1:34
    คุณเห็นนี่มาแล้ว -- การจอดขนาน, การจอด
  • 1:34 - 1:37
    ขนานก็คือการที่คุณจอดรถติดกับรถอีกคัน
  • 1:37 - 1:40
    โดยไม่มีรถสองคันทับกัน, เพราะถ้ารถ
  • 1:40 - 1:43
    ตัดกัน คุณต้องเรียกบริษัทประกันแล้ว
  • 1:43 - 1:45
    แต่ช่างเถอะ, พวกนั้นคือเส้นขนาน
  • 1:45 - 1:48
    เส้นสีฟ้าและสีเขียวนั้นขนานกัน
  • 1:48 - 1:51
    และผมจะแนนะให้คุณเรื่องคำทางเรขาคณิต
  • 1:51 - 1:54
    ที่ซับซ้อนอันใหม่ เรียกว่า เส้นตัดขวาง
  • 1:54 - 1:59
    เส้นตัดขวาง ก็แค่เส้นอีกเส้นที่
  • 1:59 - 2:02
    ตัดเส้นตรงสองเส้นนั้น
  • 2:02 - 2:03
    มันคือเส้นตัดขวาง
  • 2:03 - 2:07
    เป็นคำสวยหรูสำหรับเรื่องง่ายๆ, เส้นตัดขวาง
  • 2:07 - 2:10
    ขอผมเขียนมันลงไป แค่เขียนมันลงไป
  • 2:10 - 2:11
    เส้นตัดขวาง
  • 2:11 - 2:19
    มันตัดกับเส้นตรงอีกสองเส้น
  • 2:24 - 2:26
    ผมคิดถึงวลีใช้จำคำว่า เส้นตัดขวาง, แต่ผมอาจ
  • 2:26 - 2:27
    คิดถึงสิ่งที่ไม่เหมาะสม
  • 2:27 - 2:32
    กลับมาเรื่องเรขาคณิต
  • 2:34 - 2:37
    เรามีเส้นตัดขวางที่ตัดกับ
  • 2:37 - 2:39
    เส้นขนานสองเส้น
  • 2:39 - 2:41
    สิ่งที่เราจะทำ คือคิดถึง -- ที่จริง
  • 2:41 - 2:42
    ถ้ามันตัดเส้นหนึ่ง มันจะ
  • 2:42 - 2:43
    ตัดอีกเส้นหนึ่งด้วย
  • 2:43 - 2:44
    ผมจะปล่อยให้คุณคิดดู
  • 2:44 - 2:47
    มันไม่มีทางที่ผมจะวาดอะไรที่ตัดเส้นขนาน
  • 2:47 - 2:50
    เส้นหนึ่งแล้วไม่ตัดอีกเส้นหนึ่ง, ตราบใด
  • 2:50 - 2:52
    ที่เส้นนี้ยาวตลอดไป
  • 2:52 - 2:54
    ผมว่ามันอาจชัดเจนอยู่แล้ว
  • 2:54 - 2:57
    แต่สิ่งที่ผมอยากทำคือสำรวจมุมต่างๆ
  • 2:57 - 2:59
    ของเส้นตัดขวาง
  • 2:59 - 3:03
    แล้วอย่างแรกที่ผมจะทำ คือสำรวจ
  • 3:03 - 3:05
    มุมที่ตรงกัน
  • 3:05 - 3:08
    สมมุติว่ามุมที่ตรงกัน นั้นเป็น
  • 3:08 - 3:11
    เท่ากันสำหรับเส้นขนานแต่ละเส้น
  • 3:17 - 3:20
    มุมที่ตรงกัน
  • 3:20 - 3:23
    พวกมันมีบทบาทเดียวกัน โดยมุมตัดขวาง
  • 3:23 - 3:25
    ตัดกันในแต่ละเส้น
  • 3:25 - 3:29
    อย่างที่คุณนึกได้, ว่ามันดูได้ จากการวาดสุดเนี๊ยบ
  • 3:29 - 3:31
    ของผม -- ผมไม่วาดได้ดีขนาดนี้บ่อยนัก -- พวกนี้
  • 3:31 - 3:33
    จะเท่ากับอีกตัว
  • 3:33 - 3:38
    ถ้านี่คือ x, นี่ก็จะเท่ากับ x ด้วย
  • 3:38 - 3:42
    ถ้าเรารู้แล้ว เราก็ใช้, กฎที่เรา
  • 3:42 - 3:45
    เพิ่งเรียนไปเพื่อหาค่าอื่นๆ
  • 3:45 - 3:46
    ของเส้นเหล่านี้ทั้งหมด
  • 3:46 - 3:52
    เพราะถ้านี่คือ x แล้วนี่จะเท่ากับอะไรตรงนี้?
  • 3:52 - 3:55
    มุมนี่สีบานเย็นนี่จะเป็นเท่าไหร่?
  • 3:55 - 3:59
    ทีนี้, พวกนี้คือมุมตรงข้าม, จริงไหม?
  • 4:01 - 4:03
    พวกมันอยู่ตรงกันข้ามของเส้นตัด
  • 4:03 - 4:04
    นี่ก็คือ x ด้วย
  • 4:04 - 4:07
    และเช่นเดียวกัน เราทำเหมือนกันตรงนี้ได้
  • 4:08 - 4:12
    นี่คือมุมตรงข้ามของมุมนี้, นี่ก็คือ x ด้วย
  • 4:12 - 4:19
    ขอผมเลือกสีดีๆ หน่อย
  • 4:21 - 4:24
    สีเหลืองคืออะไร?
  • 4:24 - 4:26
    มุมนี้จะเป็นเท่าไหร่?
  • 4:26 - 4:27
    ทีนี้, อย่างที่เราทำมาก่อน
  • 4:27 - 4:30
    ดูสิ, เรามีมุมใหญ่มากนี่ตรงนี้, จริงไหม?
  • 4:30 - 4:34
    มุมนี้, มุมทั้งหมดนี้คือ 180 องศา
  • 4:34 - 4:39
    แล้ว x กับมุมสีเหลืองนี่ประกอบกันสองมุมฉาก, เราจึงเรียก
  • 4:49 - 4:53
    ถ้ามุมนี้คือ y, แะล้วมุมนี้ตรงข้ามกับ y
  • 4:53 - 4:57
    แล้วมุมนี้ก็จะเท่ากับ y ด้วย
  • 4:57 - 4:59
    มหัศจรรย์มาก
  • 4:59 - 5:03
    และเช่นเดียวกัน, ถ้าเรามี x ตรงนี้ และ x ประกอบกับ
  • 5:03 - 5:06
    มุมนี่ตรงนี้, จริงไหม?
  • 5:06 - 5:11
    นี่ก็จะเท่ากับ 180 ลบ x ซึ่งเท่ากับ y เช่นกัน
  • 5:11 - 5:15
    แล้วมุมตรงข้าม, นี่ก็เท่ากับ y ด้วย
  • 5:15 - 5:19
    มันมีคำทางเรขาคณิตและกฎมากมายที่
  • 5:19 - 5:21
    อยู่ในนี้, และผมจะทบทวนคำเหล่านี้เร็วๆ แต่
  • 5:21 - 5:22
    มันไม่มีอะไรหรูหรา
  • 5:22 - 5:24
    ที่ผมทำ คือผมเริ่มต้นด้วยแนวคิด
  • 5:24 - 5:25
    เรื่องมุมที่ตรงกัน
  • 5:25 - 5:28
    ผมบอกว่า, เอาล่ะ, x นี่เท่ากับ x นี่
  • 5:28 - 5:32
    ผมบอกว่า, โอ้, ถ้าพวกนี้เท่ากัน, อืม ไม่
  • 5:32 - 5:35
    แม้ว่า -- ผมหมายถึงว่า ถ้านี่คือ x และนี่ก็คือ x ด้วย เพราะ
  • 5:35 - 5:38
    พวกมันตรงข้ามกัน, และเหมือนกับสำหรับอันนี้
  • 5:38 - 5:40
    แล้ว, ทีนี้, ถ้านี่คือ x และนี่คือ x และพวกมันเท่ากัน
  • 5:40 - 5:43
    อย่างที่มันควรเป็น เพราะพวกมันเป็น
  • 5:43 - 5:45
    มุมที่ตรงกันด้วย
  • 5:45 - 5:48
    มุมสีบานเย็นสองมุมนี้ มีบทบาทเหมือนกัน
  • 5:48 - 5:50
    พวกมันอยู่ล่างซ้ายเหมือนกัน
  • 5:50 - 5:52
    นั่นคือวิธีที่ผมคิด
  • 5:52 - 5:54
    เราทำไป, เราใช้มุมประกอบสองมุมฉาก
  • 5:54 - 5:57
    ที่เราคิด, มุม y พวกนี้เหมือนกันเช่นกัน
  • 6:00 - 6:02
    มุม y นี่เท่ากับมุม y นี่เพราะ
  • 6:02 - 6:04
    มันตรงกัน
  • 6:04 - 6:07
    มุมที่ตรงกัน มีค่าเท่ากัน
  • 6:07 - 6:10
    มันก็สมเหตุสมผล, พวกมันมีบทบาทเหมือนกัน
  • 6:10 - 6:12
    ล่างขวา, ถ้าคุณดูมุมล่างขวา
  • 6:12 - 6:14
    มุมที่ตรงข้ามกันจึงเท่ากัน
  • 6:14 - 6:23
    นั่นคือสัญลักษณ์สั้นๆ
  • 6:25 - 6:27
    และเราหาทุกอย่างได้แล้วตรงนี้
  • 6:27 - 6:29
    นั่นคือสิ่งที่คุณต้องรู้
  • 6:29 - 6:31
    แต่ถ้าคุณอยากข้ามขั้น, คุณรู้
  • 6:31 - 6:47
    เช่นกันว่ามุมแย้งเท่ากัน
  • 6:47 - 6:50
    แล้วคำว่ามุมแย้งหมายถึงอะไร?
  • 6:50 - 6:54
    มุมแย้ง คือมุมที่อยู่ใกล้กว่า
  • 6:54 - 6:58
    ในเส้นขนานสองเส้น, และพวกมันอยู่ตรงกันข้าม
  • 6:58 - 6:59
    กันเทียบกับเส้นตัดขวาง
  • 6:59 - 7:02
    นั่นคือวิธีที่ซับซ้อน เพื่อบอกว่ามุมสีส้มและ
  • 7:02 - 7:03
    มุมสีบานเย็นนี่ตรงนี้
  • 7:03 - 7:06
    พวกนี้คือมุมแย้ง, และเราพิสูจน์
  • 7:06 - 7:09
    ไปแล้วว่า ถ้านี่คือ x แล้วนั่นคือ x
  • 7:09 - 7:11
    พวกนี้คือมุมแย้ง
  • 7:11 - 7:18
    x นี่แล้วก็ x นั่นแย้งกัน
  • 7:18 - 7:22
    แล้ว y นี่กับ y นี่ก็แย้งกัน,
  • 7:22 - 7:24
    และเราได้พิสูจน์แล้วว่าพวกมันเท่ากัน
  • 7:24 - 7:30
    แล้วคำสุดท้ายที่คุณจะเห็นในเรขาคณิต คือ --
  • 7:30 - 7:31
    ผมจะไม่เขียนทั้งหมดนะ -- มุม
  • 7:31 - 7:34
    แย้งภายนอก
  • 7:34 - 7:38
    มุมแย้งภายนอกเท่ากันเช่นกัน
  • 7:38 - 7:41
    นั่นคือมุมที่ห่างออกไปจากกัน
  • 7:41 - 7:43
    บนเส้นขนาน, แต่พวกมันยังสลับกันด้วย
  • 7:43 - 7:49
    แล้วตัวอย่างของันนั้นคือ x นี่บนนี้แล้ว x นี่ข้างล่างนี้
  • 7:49 - 7:54
    ใช่แล้ว, เพราะพวกมันอยู่ข้างนอกของเส้นขนาน
  • 7:58 - 8:00
    นับจากเส้นตัดขวาง
  • 8:00 - 8:02
    พวกนี้คือคำหรูหรา, แต่ผมว่าคุณคง
  • 8:02 - 8:04
    มีสัญชาตญาณอยู่แล้ว
  • 8:04 - 8:06
    มุมที่ตรงกัน มันเข้าใจได้ง่ายสุดแล้วสำหรับผม
  • 8:06 - 8:09
    แล้วอย่างอื่นพิสูจน์โดยใช้มุมตรงข้าม
  • 8:09 - 8:10
    และมุมประกอบ
  • 8:10 - 8:18
    แต่มุมแย้งภายนอก คือมุมนั้นกับมุมนั้น
  • 8:18 - 8:23
    แล้วมุมแย้งภายนอกคือ y นี่กับ y นี่
  • 8:23 - 8:24
    พวกมันก็เท่ากันด้วย
  • 8:24 - 8:27
    แล้วถ้าคุณรู้อันนี้, คุณก็รู้ทุกอย่างที่คุณต้อง
  • 8:27 - 8:29
    รู้เกี่ยวกับเส้นขนานแล้
  • 8:29 - 8:32
    สิ่งสุดท้ายที่ผมจะสอนคุณ ในการเล่นเกม
  • 8:32 - 8:36
    เรขาคณิตอย่างครบมือ คือมุมใน
  • 8:36 - 8:38
    รูปสามเหลี่ยม รวมกันได้ 180 องศา
  • 8:38 - 8:42
    ขอผมวาดสามเหลี่ยม,
  • 8:46 - 8:49
    เป้นสามเหลี่ยมอย่างสุ่ม
  • 8:49 - 8:51
    นั่นคือสามเหลี่ยมอย่างสุ่มของผม
  • 8:51 - 8:58
    และถ้านี่คือ x, นี่คือ y, และนี่คือ z
  • 8:58 - 9:01
    เรารู้ว่ามุมของสามเหลี่ยม -- x องศาบวก y
  • 9:01 - 9:07
    องศา บวก z องศา เท่ากับ 180 องศา
  • 9:07 - 9:10
    แล้วถ้าผมบอกว่านี่เท่ากับ, ไม่รู้สิ, 30
  • 9:10 - 9:15
    องศา, นี่จะเท่ากับ, ไม่รู้สิ 70 องศา
  • 9:15 - 9:16
    แล้ว z เท่ากับอะไร?
  • 9:16 - 9:24
    ทีนี้, เราบอกว่า 30 บวก 70 บวก z เท่ากับ 180, หรือ
  • 9:24 - 9:28
    100 บวก z เท่ากับ 180
  • 9:28 - 9:29
    ลบ 100 จากทั้งสองด้าน
  • 9:29 - 9:33
    z จะเท่ากับ 80 องศา
  • 9:33 - 9:36
    เราจะเห็นรูปแบบอื่นๆ ของอันนี้ โดยคุณมีมุมสองมุม
  • 9:36 - 9:39
    และคุณจะใช้สมบัตินี้ เพื่อหามุมที่สาม
  • 9:39 - 9:41
    แล้วทุกอย่างเราเรียนไปแล้ว, ผมว่าเรา
  • 9:41 - 9:45
    พร้อมจะเล่นเกมของมุมแล้ว
  • 9:45 - 9:48
    ไว้พบกันในวิดีโอหน้าครับ
Title:
มุม (ตอน 3)
Description:

มุมที่เกิดจากเส้นตัดขวาง ตัดกับเส้นขนาน

more » « less
Video Language:
English
Duration:
09:47
conantee edited Thai subtitles for Angles (part 3)

Thai subtitles

Revisions